ประวัติ วาทยกรบัณฑิต อึ้งรังษี
วาทยกรชาวไทย บัณฑิต อึ้งรังษีได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่า
เป็นวาทยกรรุ่นใหม่ที่สำคัญคนหนึ่งของโลก
จากการที่เขาได้รับรางวัลการแข่งขันวาทยกรระดับนานาชาติหลาย ครั้ง
เช่น ที่ประเทศฝรั่งเศส ( Besancon Competition ) ในปี พ. ศ. ๒๕๔๐,
ที่ประเทศโปรตุเกส (รางวัลชนะเลิศ) ในปีพ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ประเทศ ฮังการี
ในปีพ.ศ. ๒๕๔๕ และล่าสุดที่ คาร์เนกีฮอลล์ (Carnegie Hall ) มหานครนิวยอร์ค
ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี ๒๕๔๕ ในการแข่ง ขัน Maazel-Vilar International Conducting Competition ซึ่งเป็นการแข่งขัน วาทยกรที่สำคัญที่สุดในโลก
โดยเป็นผู้ชนะเลิศจากผู้แข่งขัน ๓๖๒ คนทั่ว โลก
จากการตัดสินของคณะกรรมการที่มีชื่อเสียงของโลก
เช่น Lorin Maazel, Kyung-Wha Chung, Glenn Dicterow,
Krzysztof Penderecki ฯลฯ
บัณฑิต ได้ รับเชิญไปอำนวยเพลงให้กับวงออร์เคสตร้าและโรงอุปรากร (Opera House)
ที่ สำคัญต่างๆทั่วโลก รวมกันแล้วมากกว่า ๔๐๐ คอนเสิร์ต วงต่าง ๆที่เขาได้กำกับมาแล้วก็มี วง New York Philharmonic Orchestra, Los Angeles Philharmonic Orchestra, Orchestra Filarmonica di Arturo Toscanini, La Fenice
ใน เมืองเวนิส, Orchestra of Rome and Lazio และวงในประเทศ ต่าง ๆ
เช่น สเปน ตุรกี เกาหลี ออสเตรีย ญี่ปุ่น รัส เซีย อิตาลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ฮังการี
ฝรั่งเศส เยอรมนี เชคโกสโลวา เกีย มาเลเซีย ไทย โปรตุเกส
และทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา รวมทั้งคณะนักร้อง ประสานเสียงชื่อดังของโลก
Mormon Tabernacle Choir ซึ่งถ่ายทอดสดออกอากาศทั่วประเทศสหรัฐอเมริกา
นอกจากนี้ยังได้รับการเชิญหลายครั้ง จาก Orchestra Internazionale d’Italia
ในการตระเวณเปิดการแสดงทั่วเอเชีย
บัณฑิตได้ เคยทำงานร่วมกับศิลปินชั้นนำของ โลก เช่น Maxim Vengerov, Mikhail Pletnev, Julia Migenes, the LaBeque Sisters, Paula Robison, Christopher Parkening, Christine Brewer และ Elmer Bernstein
และเขายังได้รับการกล่าวขวัญถึงจากหนังสือพิมพ์และสื่อสำคัญต่าง ๆ ของ โลก ได้แก่ Los Angeles Times, New York Times, American Record Guide, Charleston Post and Courier, Deseret News, Salt Lake Tribune, Gramophone magazine, New York Magazine, L’Unione Sarda (อิตาลี), El Correo Gallego (สเปน) ฯลฯ
นอกเหนือจากการเดินทางไปกำกับวงต่าง ๆ รอบโลกแล้ว บัณฑิตยัง เคยดำรงตำแหน่งให้กับวง New York Philharmonic และ วง Charleston Symphony Orchestras รวมทั้ง เป็น Principal Guest Conductor ของ Seoul Philharmonic Orchestra ในประเทศ เกาหลีใต้, Associate Conductor ของวง Utah Symphony, Music Director ของวง Debut Orchestra (Los Angeles), Apprentice Conductor ของ วง Oregon Symphony Orchestra และ Assistant Conductor ของ วง Santa Rosa Symphony ทั้งยังได้รับความไว้เนื่อเชื่อใจจากรัฐบาลเกาหลี ใต้ เมื่อได้มีการปรับปรุงวงการดนตรีคลาสสิคครั้งใหญ่ของเกาหลีในปี พ. ศ. ๒๕๔๘ ให้ไปพัฒนาวงออร์เคสตร้าที่ดีที่สุดของประเทศนั้นให้พัฒนาถึงระดับโลกได้
บัณฑิตได้ รับการศึกษาเบื้องต้นที่โรงเรียนอัสสัมชัญ อัสสัมชัญพาณิชย์ และ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) และได้รับปริญญาตรีสองสาขา ทั้งทางด้านดนตรี และบริหาร ธุรกิจ ที่ประเทศออสเตรเลีย ได้รับปริญญาโทเอกการอำนวยเพลง ที่ University of Michigan ในสหรัฐอเมริกา และศึกษาเพิ่มเติมในประเทศ อิตาลี ออสเตรีย รัสเซีย เยอรมนี และ ฟินแลนด์ ในปีพ.ศ. ๒๕๔๑ เขาเป็นหนึ่ง ในวาทยกรรุ่นใหม่ ๙ คนจากทั่วโลกที่ได้รับเชิญไปศึกษาที่ Carnegie Hall ใน มหานครนิวยอร์ก ซึ่งเป็นเหตุให้เขาได้รับ ทุน Leonard Bernstein Fellowship ไปศึกษาต่อ กับ Seiji Ozawa ที่ Tanglewood Music Center
ในประเทศบ้านเกิดของตนเอง คุณบัณฑิตได้ รับความสนใจจากสื่ออย่างมากมาย ได้รับเชิญไปออกรายการทีวีและวิทยุไม่ต่ำ กว่าร้อยครั้ง ที่สำคัญ ๆ คือ รายการเจาะใจ ชีพจรโลก ตาสว่าง กว่าจะเป็น ดาว กฤษณะล้วงลูก ฯลฯ รวมทั้งการให้สัมภาษณ์ทางนิตยสารและหนังสือพิมพ์อีก นับครั้งไม่ถ้วน นับเป็นนักดนตรีคลาสสิกคนแรกของไทยที่ได้รับความสนใจ อย่างกว้างขวาง
ปัจจุบันนี้คุณบัณฑิตแบ่ง เวลาให้กับการเดินทางไปกำกับวงออร์เคสตร้าทั่วโลก การเขียนหนังสือทั้งภาษา ไทยและอังกฤษ และการเป็นวิทยากรพิเศษให้ความรู้กับนักธุรกิจ นักศึกษาและ องค์กรต่าง ๆ มากมาย หนังสือทั้งสองเล่มของเขา ชื่อ "ต้องเป็นที่หนึ่งให้ ได้" และ"๓๐ วิธีเอาชนะโชคชะตา" ได้ติดอันดับหนังสือขายดีอย่างรวดเร็ว และ ตอนนี้ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษแล้วภายใต้ชื่อ ว่า "Conduct Your Dreams" และ "The Luckiest Man in the World" ตามลำดับ
ผลงานการอัดเสียงของเขา มีสองอัลบั้ม คือ Mozart in Love ทีอัดกับ วง Charleston Symphony Orchestra ในประเทศสหรัฐอเมริกา และล่าสุด คือ Elgar Violin Concerto ที่อัดให้กับ Sony/BMG London ที่จะออกจำหน่าย ทั่วโลกในเวลาอันใกล้นี้
สำหรับรางวัลในประเทศไทย คุณบัณฑิตได้รับการแต่งตั้งจากกระทรวงวัฒนธรรมให้เป็น
"ทูตวัฒนธรรม" ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และทั้งได้รับรางวัล "ศิลปาธร"ในปี ๒๕๔๘
คุณบัณฑิต มีภรรยาเป็นนักร้องเพลงแจ๊สมืออาชีพชาวอเมริกันชี่อ แมรี่ อึ้งรังษีมีบุตรสาวด้วยกันสามคน
เหนือสิ่งอื่นใด
- เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี 9 มิถุนายน 2559
- พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) ณ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
- The 60th Anniversary Celebrations of his Majesty King Bhumibol Adulyadej's Accession to the Throne
- 63 ปี "พระเจ้าอยู่หัว ร.๙" ผู้นำที่ไม่เหมือนใครในโลก นำพาประเทศ "อยู่ดีมีสุข"
- Supreme Artist
- เศรษฐกิจพอเพียง : Sufficiency Economy พ.ศ. ๒๕๖๓
- ทศพิธราชธรรม ๑
- ทศพิธราชธรรม ๒
- ๑๐๐ ปี สวรรคตกาลสมเด็จพระปิยมหาราช
- ร.๙ ทรงห่วงเหตุการณ์ประเทศเพื่อนบ้าน
- พระบรมราโชวาท ร.๙
- "พูดแล้วต้องทํา" พระบรมราโชวาท "ในหลวง ร.๙" ทรงเตือน-ครม.
- ร. ๙ ทรงพระราชทานแก่พลเอกสุจินดา คราประยูร และพลตรีจำลอง ศรีเมือง
- ร.๙ ทรงรับสั่งรมต.ถวายสัตย์ฯ
- ร.๙ ทรงมีพระบรมราโชวาทแก่ตุลาการทหาร
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9 ทรงป้องกันน้ำท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘
- “ในหลวง ร.๙” ทรงฝากองคมนตรีปลูกฝังคนไทยเอื้อเฟื้อ นึกถึงส่วนรวม
- “ในหลวง ร.๙” เสด็จฯ ทอดพระเนตรดนตรีที่ศิริราช
- "ในหลวง ร.๙" เสด็จเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์-สะพานภูมิพล 1,2
- ในหลวง ร. ๙ เสด็จฯทอดพระเนตรคอนเสิร์ตแจ๊ส
- ๕ ธันวาคม ๒๕๕๒
- น้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณ"ในหลวง ร.๙"กับ"ภูมิสารสนเทศ"
- ในหลวง ร.๙ ทรงพระราชทาน ส.ค.ส.2554 แก่พสกนิกรชาวไทย
- 'ในหลวง ร.๙' ทรงมีพระราชดำรัสให้คนไทย ทำหน้าที่ ไม่ประมาท มีสติ : ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓
- วันฉัตรมงคล (ร.๙)
- ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙
- พระราชดำรัสสุดท้าย ในหลวง รัชกาลที่ 9
- ๑๒ สิงหา วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- "สมเด็จย่า"
- เจ้านายเล็กๆ ยุวกษัตริย์
- อาลัยพระพี่นางฯ
- ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โปรดให้นายโคฟี อันนัน เฝ้าถวายรางวัลฯ (๒๕ พ.ค.๔๙)
- "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร" มีพระราชดำรัสเกี่ยวกับการวิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์
- พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล
- ศิลปาชีพ : ประจักษ์พยานของความรัก ผูกพัน และห่วงใย
- เพลงสรรเสริญพระบารมี
- ชีวิตที่หมุนไปไม่หยุดยั้ง...พระอารมณ์ขันของพระเทพฯ
- ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนฯ
- สมเด็จพระเทพฯ กับการส่งเสริมไอที เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- สมเด็จพระเทพฯ สนพระทัยเมล็ดพันธุ์ช่วยหล่อเลี้ยงประชากร
- เครือข่ายกาญจนาภิเษก
- สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- ทรงพระเจริญ
- ของขวัญจากก้อนดิน
- ต้นไม้ของพ่อ
- รูปที่มีทุกบ้าน
- นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ
- ติโต
- ไม่มีวันไหนที่ไม่คิดถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙
- พระราชนิพนธ์ พระมหาชนก ที่ทุกคนพึงอ่าน
- โครงการแก้มลิง
- ทำไมเรารัก "พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"
Custom Search