http://th-th.facebook.com/pages/khuy-kan-wan-sear/308586579781
เชฟดอล์ฟ สหัส จันทกานนท์
ABC Cooking Studio
http://www.abccookingstudio.co.th/
ออกอากาศ TNN24 วันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2553
saturdaytalk@hotmail.com
สหัส : ผมเรียนตกแต่งภายในครับ
สุรนันทน์ : แล้วมาเป็นเชฟได้อย่างไรครับ
สหัส : เป็นคนชอบกิน ชอบเที่ยว เวลาเห็นร้านอาหารที่มีความรู้สึกเก่าๆ
จะประทับใจ ผมเรียนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุรนันทน์ : แถวนั้นร้านเก่าๆ อร่อยๆ เยอะ
สหัส : ครับ เวลาดูเขาทำก๋วยเตี๋ยว มันมีวิญญาณ มันมีอารมณ์
สุรนันทน์ : ตอนเด็กๆ ทำอาหารหรือเปล่าครับ
สหัส : เริ่มทำอาหารคือช่วยคุณพ่อคุณแม่เข้าครัว
ครั้งแรกจริงๆ คือตอนไปเข้าค่ายลูกเสือตอน ม.3
สุรนันทน์ : แล้วตอนนั้นรู้หรือยังว่าฉันรัก ฉันอยากทำอาหาร
สหัส : ไม่ครับ ตอนนั้นได้ใจ เพราะว่าเพื่อนหิวก็เลยมารุมกินหมด
เราก็นึกว่าเราเก่งแล้ว แต่จริงๆ ยังครับ ยังผิดพลาดอีกเยอะ
สุรนันทน์ : ตอนไหนที่เริ่มรู้ว่าฉันรักการทำอาหาร
สหัส : ก็เริ่มตอนเรียนครับ เวลาว่างจะทำอาหารเอง
พอทำสำเร็จ จะรู้สึกว่าดีมาก สนุก แต่เวลาผิดจะแก้ยังไง
เราก็เริ่มสนุก และก็ทำมาตลอด
สุรนันทน์ : ก็เริ่มคิด คิดแบบคนที่เรียนตกแต่งภายในหรือเปล่าครับ
สหัส : คิดแบบคนไม่มีความรู้
สุรนันทน์ : จนบัดนี้ก็ไม่เคยไปเรียนทำอาหารเลยใช่ไหมครับ
สหัส : ไม่ได้เรียนครับ
สุรนันทน์ : ทดลองเองตลอด
สหัส : ครับ อาจจะเป็นข้อดีในข้อเสียก็ได้ คือ
ผมไม่ได้เรียนมาโดยตรงเพราะฉะนั้นผมไม่มีกรอบความคิดว่า
อะไรห้าม อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
สุรนันทน์ : รู้ว่าตอนไหนทำอาหารเก่งครับ
สหัส : ตอนนั้นอกหักใหม่ๆ ยังร้องไห้อยู่
ก็มีงานเลี้ยงแขกผู้ใหญ่เประมาณ 20 ท่าน
เขาก็ให้ผมทำอาหาร ผมก็ทำไปร้องไห้ไป
แต่ปากก็ยังชิมอยู่ เสร็จแล้วก็ลงมาเสริฟ
แขกต่างชาติก็เยอะและคนที่อยู่ในธุรกิจวงการอาหารเขาก็ทาน
พอจบงานเลี้ยง เขาก็เชิญเชฟทำอาหารมายืนทุกคนก็บอกว่าขอบคุณ
แล้วก็ลุกขึ้นปรบมือให้ ผมก็รู้สึกว่ามันมีอย่างนี้ด้วยเหรอ
รู้สึกว่าสิ่งที่เราทำมันสื่อถึงคน
เขากินแล้วเขาอร่อย
เขาประทับใจ เขาขอบคุณ
สุรนันทน์ : ทำไมถึงมาเปิดโรงเรียนสอนทำอาหารครับ
สหัส : แนว ทางมันเหมือนเป็นงานอดิเรก
ปกติในสยามสแควร์ผู้ปกครองส่งลูกหลานมาร้องเพลง
มาเรียนเต้น กวดวิชา มาวาดรูด
ตรงนี้ก็เลยคิดว่าทำไมไม่มีการเรียนทำอาหารเกิดขึ้น
ทฤษฎีของเลโอนาร์โด ดาวินชี ที่ผมเรียนมาด้านทางศิลปะ
เขาบอกว่าการทำอาหารเป็นกิจกรรมอย่างเดียวที่ทำแล้ว
ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งหมด คือ ตา หู จมูก ลิ้น มือ
สุรนันทน์ : แสดงว่าคิดทำโรงเรียนก่อนโดยที่ตัวเองสนใจทำอาหาร
แต่ยังไม่รู้ว่าจริงๆ มีความสามารถพอที่คนจะยอมรับหรือเปล่า
ทำในเชิงพาณิชย์หรือทำด้วยใจรักครับ
สหัส : จริงๆ สตาร์ทแล้วจะบอกว่าใจรักก็คงไม่ใช่
เราก็ต้องหวังในเชิงพาณิชย์ก่อนให้มันอยู่ได้
สุรนันทน์ : แต่มีเป้าหมายว่าเป็นงานอดิเรก
และเด็กๆ น่าจะสนใจ ถึงมาเปิด
สหัส : ใช่ครับ
สุรนันทน์ : ร้านนี้เป็นอินทีเรียด้วยหรือเปล่าครับ
สหัส : อินทีเรียรับเป็นฟรีแลนซ์ อินทีเรียก็จะแยกไป
ตรงนี้เป็น Cooking Studio จริงๆ
สุรนันทน์ : ตอนเปิดร้าน Cooking Studio
ประสบความสำเร็จมั๊ย เด็กๆ มาเรียนตามที่ตั้งใจไว้มั๊ยครับ
สหัส : ใน เรื่องการตลาด แผนโปรโมชั่นก็เยอะนะครับ ... เราก็ดูว่า
เราจะขยายกลุ่มลูกค้าอย่างไร ลูกค้าก็ได้เพิ่มขึ้นจากเรื่องวงการอาหารเพิ่มขึ้น
อย่างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกมา หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว
เอามาทำอาหารสูตรอะไรเพิ่มเติมได้บ้าง
เราก็จะได้ลูกค้าจากกลุ่มพวกนี้เพิ่มมากขึ้น
สุรนันทน์ : คิดนอกกรอบจริงๆ ไม่ได้คิดเป็นเชฟด้วยตัวเองก่อน...
เข้ามาแล้วเขาถามมั๊ยว่าเชฟด๊อฟเป็นใคร
สหัส : ถาม ครับ คุณเป็นใคร คุณเรียนอะไรมา
เพราะต้นทุนผมไม่มี คุณพ่อก็ไม่ได้เป็นนักชิม
พอผมตอบว่าผมเรียนตกแต่งภายใน พอตอบปั๊บ
ก็ไม่มีคำถามอะไรต่ออีกแล้ว เขาก็คงคิดว่ามันต้องบ้าแน่ๆ
ผมก็บอกว่าถ้าอยากเรียนก็เรียน ถ้าไม่แน่ใจก็ไม่ต้องเรียน
สุรนันทน์ : แต่ที่คุณนำมาสอนนี่มันโอเคใช่มั๊ย
สหัส : ผม ว่ามันโอเคนะ เพราะสิ่งที่ผมเรียน ผมไม่ได้เข้าโรงเรียน
แต่ผมเรียนจากหนังสือ จากประสบการณ์จริง
และเรียนจากผู้รู้คือเชฟต่างๆ ในช่วงที่ผมได้เดินทางได้ไปเจอ
สุรนันทน์ : คือด้วยความสนใจของเรา เราก็พัฒนาองค์ความรู้ของเรา
องค์ความรู้ตรงนี้ก็มาอยู่ที่ ABC แล้วที่ ABC สอนอะไรบ้างครับ
สหัส : สอนทุกอย่างครับ อาหารคาว ขนม เครื่องดื่ม
สุรนันทน์ : อาหารคาวนี่อาหารไทยหรืออาหารฝรั่ง
สหัส : ทั้ง ไทยและฝรั่งเลยครับ เป็นกึ่งจีนก็มีครับ
ถามว่าผมเอามาจากไหน ความรู้เรื่องจีน
ผมก็รู้จักเจ้าของร้านอาหารจีนหลายๆ ท่าน
บางทีมาเปิดคลาสที่นี่ ผมก็ถาม หลายๆ ท่านก็สอนให้
สุรนันทน์ : เชฟดอล์ฟสอนเอง มีทีมงานสอน มีเชฟอื่นมาช่วยสอนมั๊ยครับ
สหัส : มีครับ จริงๆ ABC เป็นเหมือนกับบ้านมากกว่า Center
หรือว่าเป็นเหมือนเวที เชฟท่านใดอยากมาทำ
อยากมาสอน ตรงนี้ก็เป็นเหมือนโพรวายให้ได้
สุรนันทน์ : ทำมา 5 ปีแล้วเรียกว่าสำเร็จมั๊ยครับ
สหัส : ยังครับ ทำมา 5 ปีก็มีอะไรใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น
สุรนันทน์ : เมื่อ 5 ปีก่อนที่เปิดร้านวันแรกฝันว่ามันจะเป็นอย่างนี้มั๊ยครับ
สหัส : ไม่ฝันเลยครับ
สุรนันทน์ : แล้วตอนนั้นฝันอะไร
สหัส : บอกตามตรงว่าตอนนั้นยังคิดไม่ออกเลยว่า
มันจะไปทางไหน จะไปขายใคร
สุรนันทน์ : ตอนนั้นเชื่อมั๊ยว่าความคิดเรามันน่าจะถูก
สหัส : เชื่อว่ามันน่าจะมีคนที่มีมุมมองเห็นด้วยกับเราบ้างบางส่วน
สุรนันทน์ : ตรงนี้มันเป็นความลับนะสำหรับคนที่ประสบความสำเร็จ
ขั้นแรกมั่นใจแค่ไหนครับ
สหัส : บาง ทีผมว่าความมั่นใจมันไม่เท่ากับกล้าตัดสินใจ
ผมว่าการทำธุรกิจเป็นความเสี่ยง ถ้าเสี่ยงแล้วมันไม่เวิร์ค
มันล้มเหลว ก็คือหยุดแล้วก็เปลี่ยน ในเชิงธุรกิจ
แต่ส่วนมากถ้าเป็นคนไทยจะบอกว่าทำธุรกิจเจ๊ง เสียหน้า อาย
ไม่กล้าบอกเพื่อน แต่ในสิ่งที่ผมได้ยินมาและที่ผู้ใหญ่หลายๆ ท่านบอกคือ
การทำธุรกิจคือการลงทุน ลงทุนไม่เวิร์คก็เปลี่ยนแกนไปเรื่อยๆ
นั่นคือการทำธุรกิจ ไม่ใช่การเสียหน้า
สุรนันทน์ : 5 ปีที่ผ่านมาอุปสรรคเยอะมั๊ยครับ
สหัส : เยอะมากครับ
สุรนันทน์ : เจออะไรมาบ้างครับ
สหัส : อย่าง แรกเลยคือค่าเช่าแพง สองคือการที่เราไม่มีชื่อเสียง ไม่มีเครดิต
เราก็ต้องเริ่มสร้างว่าเราควรจะทำอย่างไร
และก็บอกเขาอย่างไรว่ามาเรียนกับเราได้ประโยชน์อย่างไร
ตรงนั้นก็ใช้เวลาพอสมควร และก็พิสูจน์ความสามารถด้วย
สุรนันทน์ : เชฟดอล์ฟสอนเอง มีทีมงานสอน มีเชฟอื่นมาช่วยสอนมั๊ยครับ
สหัส : มีครับ จริงๆ ABC เป็นเหมือนกับบ้านมากกว่า Center
หรือว่าเป็นเหมือนเวที เชฟท่านใดอยากมาทำ
อยากมาสอน ตรงนี้ก็เป็นเหมือนโพรวายให้ได้
สุรนันทน์ : ทำมา 5 ปีแล้วเรียกว่าสำเร็จมั๊ยครับ
สหัส : ยังครับ ทำมา 5 ปีก็มีอะไรใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น
สุรนันทน์ : เมื่อ 5 ปีก่อนที่เปิดร้านวันแรกฝันว่ามันจะเป็นอย่างนี้มั๊ยครับ
สหัส : ไม่ฝันเลยครับ
สุรนันทน์ : แล้วตอนนั้นฝันอะไร
สหัส : บอกตามตรงว่าตอนนั้นยังคิดไม่ออกเลยว่า
มันจะไปทางไหน จะไปขายใคร
สุรนันทน์ : บอกแล้วเขาว่าอย่างไรครับ
สหัส : บอกแล้วไม่มีใครฟังหรอกครับ
เราต้องรอว่าสิ่งที่เราทำงานออกไปมีคนยอมรับยังไง
สุรนันทน์ : เพราะฉะนั้นก็เป็นกระบวนการปากต่อปาก
ใครมาเรียนกับเราแล้วดีก็พูดต่อให้เรา
สหัส : แล้วก็คนที่ได้มาทำงานกับเรา
และเราบริการเขาได้ในสิ่งที่เขาต้องการ ตรงกับแนวสินค้า ก็คือสำคัญ
สุรนันทน์ : 5 ปีนี่ก็เจอทั้งช่วงเศรษฐกิจดี
ช่วงเศรษฐกิจไม่ดี เหมือนกันมั๊ยสำหรับธุรกิจนี้
สหัส : ถ้าช่วงไม่ดีก็อาจจะตัดสินใจช้าหน่อย เราก็ปรับแพจเกจ
สุรนันทน์ : แต่ก็ยังมีคนเข้ามาเรื่อยๆ ไม่ได้ตก หายวูบ
สหัส : ก็มีเรื่อยๆ ครับ ก็อาจจะโชคดีที่มีเพื่อนทำรายการโทรทัศน์ของฮ่องกงบ้าง
อะไรบ้าง ก็แวะมาถ่ายแล้วก็ไปลงแมกกาซีน
ตอนนี้ก็กลายเป็นว่ากลุ่มลูกค้าต่างชาติที่มาเรียนตอนนี้ เยอะที่สุดคือฮ่องกง
สุรนันทน์ : เคยนึกย้อนกลับไปแล้วเสียดายมั๊ยว่า 5 ปีที่ผ่านมา
ฉันน่าจะอยู่กับการตกแต่งภายใน ไม่น่ามาตรงนี้
สหัส : ไม่เสียดายเลยครับ ทุกอย่างทำไปแล้ว
ย้อนกลับไปไม่ได้อยู่แล้ว เพียงแต่เลือกมาทางนี้
แล้วจะทำอย่างไรต่อไปมากกว่า
สุรนันทน์ : ตอนนี้อาหารอะไรที่ทำแล้วป๊อบปูล่ามาก
สหัส : ส่วนมากขนมอบ ขนมเค้ก เบเกอรี่ เด็กๆ จะชอบ
ส่วนอาหารคาวก็มี ต้องแล้วแต่ ถ้าเป็นเด็กผู้หญิง
อาจจะรู้สึกว่าอยากทำขนมให้คุณพ่อคุณแม่รับประทาน
แต่ผู้ชายก็มาเรียนเยอะ
สุรนันทน์ : เพราะฉะนั้นลูกค้าก็มีความต้องการที่หลากหลาย
มีใครที่เข้ามาแล้วอยากจะเป็นเชฟบ้างครับ
สหัส : ผม ก็แนะนำว่าลองมาเรียนดูก่อนว่าจริงๆ แล้ว
ตัวเองแค่ชอบหรือว่ารัก อดทนกับสิ่งที่มันเกิดขึ้นข้างหน้า
ไม่ใช่ว่าเราเตรียมไว้ให้แล้วแต่ความละเอียด ความอดทนหั่น
เดี๋ยวคุณต้องเก็บกวาด ทำไมห้ามทำอย่างนี้
ทำไมห้ามทำอย่างนั้น คุณรู้สึกอย่างไร รู้สึกว่าคุณชอบ
แฮปปี้แล้ว คุณเบนเข็มเลย คุณเรียนอะไรอยู่
บอกคุณพ่อคุณแม่ว่าอยากเป็นเชฟนะ
ไปเรียนโรงเรียนเชฟเลย
สุรนันทน์ : แต่เชฟก็เป็นงานที่หนักใช่มั๊ยครับ
สหัส : หนักครับ บางคนก็บอกว่ามันดูดีนะ เท่ห์ เป็นครูกุ๊ก
สุรนันทน์ : ในครัวงานหนักแค่ไหนครับ
สหัส : ก็ หนักมาก แต่จริงๆ ส่วนมากเชฟที่สตาร์ทชัดเจนคือ
เชฟตามโรงแรม จะมีลำดับตั้งแต่เป็น Executive Chef ไล่ลงมาเรื่อยๆ
ลำดับการจัดระบบครัวมันก็เหมือนกับกองทหาร
มีหัวหน้าสั่งไปเรื่อยๆ ฉะนั้น งานหนักเขาก็จะแยกกันชัดเจน
แต่จริงๆ เชฟมันก็ยังมีอีกหลายรูปแบบ
เป็นเชฟลุยเดี่ยวอย่างที่ผมเป็นอยู่ และก็อาจจะเป็นเรื่อง Food Style list
ตรงนั้นก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ผมบอกว่า
คุณอาจจะไม่ต้องทำอาหารได้ชัดเจนมาก
แต่คุณมีความรู้เรื่องศิลปะ เรื่ององค์ประกอบศิลป์
มีตาที่ดี มีการจัดวางที่ดี มันก็เป็นอาชีพได้
สุรนันทน์ : เพราะฉะนั้นก็มีความหลากหลายพอสมควร
สหัส : หรือคุณอาจจะเป็นนักผสมเครื่องดื่ม
หรือคุณอาจจะไปเรียนเป็น Wine Maker
คุณก็ไปเรียนได้อีก มันก็อยู่ในนี้
สุรนันทน์ : มันก็คือเรื่องอุตสาหกรรมอาหารทั้งหมด
เชฟต่างประเทศเขาเก่งๆ ได้ 5 ดาว ได้อะไรต่ออะไร
อยากเห็นเชฟไทยเป็นอย่างนั้นทำอย่างไรครับ
สหัส : ผมว่าที่สำคัญเลยคือทีม เชฟทุกท่านเก่งหมด
แต่อย่าลืมว่าเขามีโปรดักชั่นที่ดี
เชฟทุกท่านเขาไม่ได้เป็นแค่เชฟแล้วเขาเป็นโปรดักส์ตัวหนึ่ง
ทุกคนมีการโฆษณา มีพีอาร์ มีแบกอัพให้เขา
สุรนันทน์ : คือ ต้องเป็นทีม ถ้าเชฟด๊อฟลุยเดี่ยวก็ตายเหมือนกัน...
แต่ถ้ามีทีมทั้งโปรดักชั่น ทั้งทีมที่แบกในการทำครัว
ทำร้านอาหารด้วยหรือเปล่าครับ
สหัส : ใช่ครับ ตอนนี้พอทุกคนถูกแยกออกมาเขาก็ต้องคิด
และเป็นเหมือนมาแตะๆ เหมือนเวลาเราไปร้านตัดผม
อย่างเช่นไปร้านชลาชล ตัดเสร็จเรียบร้อย
คุณสมศักดิ์มาแตะๆ นิดหน่อย คือไม่ได้มาแตะเพื่อเป็นพิธี
แต่มาดูว่าแนวมันเป็นอย่างไร ให้มันอยู่ในแนวทาง
ผมว่าตรงนั้นคือการสร้างทีมที่ดี
สุรนันทน์ : มองตัวเองอีก 5 ปีข้างหน้า ABC ยังอยู่ตรงนี้
หรือจะขยายสาขา มองอย่างไรครับ
เชฟดอล์ฟ สหัส จันทกานนท์
ABC Cooking Studio
http://www.abccookingstudio.co.th/
ออกอากาศ TNN24 วันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2553
saturdaytalk@hotmail.com
สุรนันทน์ : แล้วมาเป็นเชฟได้อย่างไรครับ
สหัส : เป็นคนชอบกิน ชอบเที่ยว เวลาเห็นร้านอาหารที่มีความรู้สึกเก่าๆ
จะประทับใจ ผมเรียนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุรนันทน์ : แถวนั้นร้านเก่าๆ อร่อยๆ เยอะ
สหัส : ครับ เวลาดูเขาทำก๋วยเตี๋ยว มันมีวิญญาณ มันมีอารมณ์
สหัส : เริ่มทำอาหารคือช่วยคุณพ่อคุณแม่เข้าครัว
ครั้งแรกจริงๆ คือตอนไปเข้าค่ายลูกเสือตอน ม.3
สุรนันทน์ : แล้วตอนนั้นรู้หรือยังว่าฉันรัก ฉันอยากทำอาหาร
สหัส : ไม่ครับ ตอนนั้นได้ใจ เพราะว่าเพื่อนหิวก็เลยมารุมกินหมด
เราก็นึกว่าเราเก่งแล้ว แต่จริงๆ ยังครับ ยังผิดพลาดอีกเยอะ
สุรนันทน์ : ตอนไหนที่เริ่มรู้ว่าฉันรักการทำอาหาร
สหัส : ก็เริ่มตอนเรียนครับ เวลาว่างจะทำอาหารเอง
พอทำสำเร็จ จะรู้สึกว่าดีมาก สนุก แต่เวลาผิดจะแก้ยังไง
เราก็เริ่มสนุก และก็ทำมาตลอด
สหัส : คิดแบบคนไม่มีความรู้
สุรนันทน์ : จนบัดนี้ก็ไม่เคยไปเรียนทำอาหารเลยใช่ไหมครับ
สหัส : ไม่ได้เรียนครับ
สุรนันทน์ : ทดลองเองตลอด
สหัส : ครับ อาจจะเป็นข้อดีในข้อเสียก็ได้ คือ
ผมไม่ได้เรียนมาโดยตรงเพราะฉะนั้นผมไม่มีกรอบความคิดว่า
อะไรห้าม อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้
สุรนันทน์ : รู้ว่าตอนไหนทำอาหารเก่งครับ
สหัส : ตอนนั้นอกหักใหม่ๆ ยังร้องไห้อยู่
ก็มีงานเลี้ยงแขกผู้ใหญ่เประมาณ 20 ท่าน
เขาก็ให้ผมทำอาหาร ผมก็ทำไปร้องไห้ไป
แต่ปากก็ยังชิมอยู่ เสร็จแล้วก็ลงมาเสริฟ
แขกต่างชาติก็เยอะและคนที่อยู่ในธุรกิจวงการอาหารเขาก็ทาน
พอจบงานเลี้ยง เขาก็เชิญเชฟทำอาหารมายืนทุกคนก็บอกว่าขอบคุณ
แล้วก็ลุกขึ้นปรบมือให้ ผมก็รู้สึกว่ามันมีอย่างนี้ด้วยเหรอ
รู้สึกว่าสิ่งที่เราทำมันสื่อถึงคน
เขากินแล้วเขาอร่อย
เขาประทับใจ เขาขอบคุณ
สหัส : แนว ทางมันเหมือนเป็นงานอดิเรก
ปกติในสยามสแควร์ผู้ปกครองส่งลูกหลานมาร้องเพลง
มาเรียนเต้น กวดวิชา มาวาดรูด
ตรงนี้ก็เลยคิดว่าทำไมไม่มีการเรียนทำอาหารเกิดขึ้น
ทฤษฎีของเลโอนาร์โด ดาวินชี ที่ผมเรียนมาด้านทางศิลปะ
เขาบอกว่าการทำอาหารเป็นกิจกรรมอย่างเดียวที่ทำแล้ว
ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งหมด คือ ตา หู จมูก ลิ้น มือ
สุรนันทน์ : แสดงว่าคิดทำโรงเรียนก่อนโดยที่ตัวเองสนใจทำอาหาร
แต่ยังไม่รู้ว่าจริงๆ มีความสามารถพอที่คนจะยอมรับหรือเปล่า
ทำในเชิงพาณิชย์หรือทำด้วยใจรักครับ
สหัส : จริงๆ สตาร์ทแล้วจะบอกว่าใจรักก็คงไม่ใช่
เราก็ต้องหวังในเชิงพาณิชย์ก่อนให้มันอยู่ได้
สุรนันทน์ : แต่มีเป้าหมายว่าเป็นงานอดิเรก
และเด็กๆ น่าจะสนใจ ถึงมาเปิด
สหัส : ใช่ครับ
สุรนันทน์ : ร้านนี้เป็นอินทีเรียด้วยหรือเปล่าครับ
สหัส : อินทีเรียรับเป็นฟรีแลนซ์ อินทีเรียก็จะแยกไป
ตรงนี้เป็น Cooking Studio จริงๆ
ประสบความสำเร็จมั๊ย เด็กๆ มาเรียนตามที่ตั้งใจไว้มั๊ยครับ
สหัส : ใน เรื่องการตลาด แผนโปรโมชั่นก็เยอะนะครับ ... เราก็ดูว่า
เราจะขยายกลุ่มลูกค้าอย่างไร ลูกค้าก็ได้เพิ่มขึ้นจากเรื่องวงการอาหารเพิ่มขึ้น
อย่างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกมา หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว
เอามาทำอาหารสูตรอะไรเพิ่มเติมได้บ้าง
เราก็จะได้ลูกค้าจากกลุ่มพวกนี้เพิ่มมากขึ้น
สุรนันทน์ : คิดนอกกรอบจริงๆ ไม่ได้คิดเป็นเชฟด้วยตัวเองก่อน...
เข้ามาแล้วเขาถามมั๊ยว่าเชฟด๊อฟเป็นใคร
สหัส : ถาม ครับ คุณเป็นใคร คุณเรียนอะไรมา
เพราะต้นทุนผมไม่มี คุณพ่อก็ไม่ได้เป็นนักชิม
พอผมตอบว่าผมเรียนตกแต่งภายใน พอตอบปั๊บ
ก็ไม่มีคำถามอะไรต่ออีกแล้ว เขาก็คงคิดว่ามันต้องบ้าแน่ๆ
ผมก็บอกว่าถ้าอยากเรียนก็เรียน ถ้าไม่แน่ใจก็ไม่ต้องเรียน
สหัส : ผม ว่ามันโอเคนะ เพราะสิ่งที่ผมเรียน ผมไม่ได้เข้าโรงเรียน
แต่ผมเรียนจากหนังสือ จากประสบการณ์จริง
และเรียนจากผู้รู้คือเชฟต่างๆ ในช่วงที่ผมได้เดินทางได้ไปเจอ
สุรนันทน์ : คือด้วยความสนใจของเรา เราก็พัฒนาองค์ความรู้ของเรา
องค์ความรู้ตรงนี้ก็มาอยู่ที่ ABC แล้วที่ ABC สอนอะไรบ้างครับ
สหัส : สอนทุกอย่างครับ อาหารคาว ขนม เครื่องดื่ม
สุรนันทน์ : อาหารคาวนี่อาหารไทยหรืออาหารฝรั่ง
สหัส : ทั้ง ไทยและฝรั่งเลยครับ เป็นกึ่งจีนก็มีครับ
ถามว่าผมเอามาจากไหน ความรู้เรื่องจีน
ผมก็รู้จักเจ้าของร้านอาหารจีนหลายๆ ท่าน
บางทีมาเปิดคลาสที่นี่ ผมก็ถาม หลายๆ ท่านก็สอนให้
สหัส : มีครับ จริงๆ ABC เป็นเหมือนกับบ้านมากกว่า Center
หรือว่าเป็นเหมือนเวที เชฟท่านใดอยากมาทำ
อยากมาสอน ตรงนี้ก็เป็นเหมือนโพรวายให้ได้
สุรนันทน์ : ทำมา 5 ปีแล้วเรียกว่าสำเร็จมั๊ยครับ
สหัส : ยังครับ ทำมา 5 ปีก็มีอะไรใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น
สุรนันทน์ : เมื่อ 5 ปีก่อนที่เปิดร้านวันแรกฝันว่ามันจะเป็นอย่างนี้มั๊ยครับ
สหัส : ไม่ฝันเลยครับ
สุรนันทน์ : แล้วตอนนั้นฝันอะไร
สหัส : บอกตามตรงว่าตอนนั้นยังคิดไม่ออกเลยว่า
มันจะไปทางไหน จะไปขายใคร
สุรนันทน์ : ตอนนั้นเชื่อมั๊ยว่าความคิดเรามันน่าจะถูก
สหัส : เชื่อว่ามันน่าจะมีคนที่มีมุมมองเห็นด้วยกับเราบ้างบางส่วน
สุรนันทน์ : ตรงนี้มันเป็นความลับนะสำหรับคนที่ประสบความสำเร็จ
ขั้นแรกมั่นใจแค่ไหนครับ
สหัส : บาง ทีผมว่าความมั่นใจมันไม่เท่ากับกล้าตัดสินใจ
ผมว่าการทำธุรกิจเป็นความเสี่ยง ถ้าเสี่ยงแล้วมันไม่เวิร์ค
มันล้มเหลว ก็คือหยุดแล้วก็เปลี่ยน ในเชิงธุรกิจ
แต่ส่วนมากถ้าเป็นคนไทยจะบอกว่าทำธุรกิจเจ๊ง เสียหน้า อาย
ไม่กล้าบอกเพื่อน แต่ในสิ่งที่ผมได้ยินมาและที่ผู้ใหญ่หลายๆ ท่านบอกคือ
การทำธุรกิจคือการลงทุน ลงทุนไม่เวิร์คก็เปลี่ยนแกนไปเรื่อยๆ
นั่นคือการทำธุรกิจ ไม่ใช่การเสียหน้า
สุรนันทน์ : 5 ปีที่ผ่านมาอุปสรรคเยอะมั๊ยครับ
สหัส : เยอะมากครับ
สุรนันทน์ : เจออะไรมาบ้างครับ
สหัส : อย่าง แรกเลยคือค่าเช่าแพง สองคือการที่เราไม่มีชื่อเสียง ไม่มีเครดิต
เราก็ต้องเริ่มสร้างว่าเราควรจะทำอย่างไร
และก็บอกเขาอย่างไรว่ามาเรียนกับเราได้ประโยชน์อย่างไร
ตรงนั้นก็ใช้เวลาพอสมควร และก็พิสูจน์ความสามารถด้วย
สหัส : มีครับ จริงๆ ABC เป็นเหมือนกับบ้านมากกว่า Center
หรือว่าเป็นเหมือนเวที เชฟท่านใดอยากมาทำ
อยากมาสอน ตรงนี้ก็เป็นเหมือนโพรวายให้ได้
สุรนันทน์ : ทำมา 5 ปีแล้วเรียกว่าสำเร็จมั๊ยครับ
สหัส : ยังครับ ทำมา 5 ปีก็มีอะไรใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น
สุรนันทน์ : เมื่อ 5 ปีก่อนที่เปิดร้านวันแรกฝันว่ามันจะเป็นอย่างนี้มั๊ยครับ
สหัส : ไม่ฝันเลยครับ
สุรนันทน์ : แล้วตอนนั้นฝันอะไร
สหัส : บอกตามตรงว่าตอนนั้นยังคิดไม่ออกเลยว่า
มันจะไปทางไหน จะไปขายใคร
สุรนันทน์ : บอกแล้วเขาว่าอย่างไรครับ
สหัส : บอกแล้วไม่มีใครฟังหรอกครับ
เราต้องรอว่าสิ่งที่เราทำงานออกไปมีคนยอมรับยังไง
สุรนันทน์ : เพราะฉะนั้นก็เป็นกระบวนการปากต่อปาก
ใครมาเรียนกับเราแล้วดีก็พูดต่อให้เรา
สหัส : แล้วก็คนที่ได้มาทำงานกับเรา
และเราบริการเขาได้ในสิ่งที่เขาต้องการ ตรงกับแนวสินค้า ก็คือสำคัญ
สุรนันทน์ : 5 ปีนี่ก็เจอทั้งช่วงเศรษฐกิจดี
ช่วงเศรษฐกิจไม่ดี เหมือนกันมั๊ยสำหรับธุรกิจนี้
สหัส : ถ้าช่วงไม่ดีก็อาจจะตัดสินใจช้าหน่อย เราก็ปรับแพจเกจ
สุรนันทน์ : แต่ก็ยังมีคนเข้ามาเรื่อยๆ ไม่ได้ตก หายวูบ
สหัส : ก็มีเรื่อยๆ ครับ ก็อาจจะโชคดีที่มีเพื่อนทำรายการโทรทัศน์ของฮ่องกงบ้าง
อะไรบ้าง ก็แวะมาถ่ายแล้วก็ไปลงแมกกาซีน
ตอนนี้ก็กลายเป็นว่ากลุ่มลูกค้าต่างชาติที่มาเรียนตอนนี้ เยอะที่สุดคือฮ่องกง
สุรนันทน์ : เคยนึกย้อนกลับไปแล้วเสียดายมั๊ยว่า 5 ปีที่ผ่านมา
ฉันน่าจะอยู่กับการตกแต่งภายใน ไม่น่ามาตรงนี้
สหัส : ไม่เสียดายเลยครับ ทุกอย่างทำไปแล้ว
ย้อนกลับไปไม่ได้อยู่แล้ว เพียงแต่เลือกมาทางนี้
แล้วจะทำอย่างไรต่อไปมากกว่า
สุรนันทน์ : ตอนนี้อาหารอะไรที่ทำแล้วป๊อบปูล่ามาก
สหัส : ส่วนมากขนมอบ ขนมเค้ก เบเกอรี่ เด็กๆ จะชอบ
ส่วนอาหารคาวก็มี ต้องแล้วแต่ ถ้าเป็นเด็กผู้หญิง
อาจจะรู้สึกว่าอยากทำขนมให้คุณพ่อคุณแม่รับประทาน
แต่ผู้ชายก็มาเรียนเยอะ
สุรนันทน์ : เพราะฉะนั้นลูกค้าก็มีความต้องการที่หลากหลาย
มีใครที่เข้ามาแล้วอยากจะเป็นเชฟบ้างครับ
สหัส : ผม ก็แนะนำว่าลองมาเรียนดูก่อนว่าจริงๆ แล้ว
ตัวเองแค่ชอบหรือว่ารัก อดทนกับสิ่งที่มันเกิดขึ้นข้างหน้า
ไม่ใช่ว่าเราเตรียมไว้ให้แล้วแต่ความละเอียด ความอดทนหั่น
เดี๋ยวคุณต้องเก็บกวาด ทำไมห้ามทำอย่างนี้
ทำไมห้ามทำอย่างนั้น คุณรู้สึกอย่างไร รู้สึกว่าคุณชอบ
แฮปปี้แล้ว คุณเบนเข็มเลย คุณเรียนอะไรอยู่
บอกคุณพ่อคุณแม่ว่าอยากเป็นเชฟนะ
ไปเรียนโรงเรียนเชฟเลย
สุรนันทน์ : แต่เชฟก็เป็นงานที่หนักใช่มั๊ยครับ
สหัส : หนักครับ บางคนก็บอกว่ามันดูดีนะ เท่ห์ เป็นครูกุ๊ก
สุรนันทน์ : ในครัวงานหนักแค่ไหนครับ
สหัส : ก็ หนักมาก แต่จริงๆ ส่วนมากเชฟที่สตาร์ทชัดเจนคือ
เชฟตามโรงแรม จะมีลำดับตั้งแต่เป็น Executive Chef ไล่ลงมาเรื่อยๆ
ลำดับการจัดระบบครัวมันก็เหมือนกับกองทหาร
มีหัวหน้าสั่งไปเรื่อยๆ ฉะนั้น งานหนักเขาก็จะแยกกันชัดเจน
แต่จริงๆ เชฟมันก็ยังมีอีกหลายรูปแบบ
เป็นเชฟลุยเดี่ยวอย่างที่ผมเป็นอยู่ และก็อาจจะเป็นเรื่อง Food Style list
ตรงนั้นก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ผมบอกว่า
คุณอาจจะไม่ต้องทำอาหารได้ชัดเจนมาก
แต่คุณมีความรู้เรื่องศิลปะ เรื่ององค์ประกอบศิลป์
มีตาที่ดี มีการจัดวางที่ดี มันก็เป็นอาชีพได้
สุรนันทน์ : เพราะฉะนั้นก็มีความหลากหลายพอสมควร
สหัส : หรือคุณอาจจะเป็นนักผสมเครื่องดื่ม
หรือคุณอาจจะไปเรียนเป็น Wine Maker
คุณก็ไปเรียนได้อีก มันก็อยู่ในนี้
สุรนันทน์ : มันก็คือเรื่องอุตสาหกรรมอาหารทั้งหมด
เชฟต่างประเทศเขาเก่งๆ ได้ 5 ดาว ได้อะไรต่ออะไร
อยากเห็นเชฟไทยเป็นอย่างนั้นทำอย่างไรครับ
สหัส : ผมว่าที่สำคัญเลยคือทีม เชฟทุกท่านเก่งหมด
แต่อย่าลืมว่าเขามีโปรดักชั่นที่ดี
เชฟทุกท่านเขาไม่ได้เป็นแค่เชฟแล้วเขาเป็นโปรดักส์ตัวหนึ่ง
ทุกคนมีการโฆษณา มีพีอาร์ มีแบกอัพให้เขา
สุรนันทน์ : คือ ต้องเป็นทีม ถ้าเชฟด๊อฟลุยเดี่ยวก็ตายเหมือนกัน...
แต่ถ้ามีทีมทั้งโปรดักชั่น ทั้งทีมที่แบกในการทำครัว
ทำร้านอาหารด้วยหรือเปล่าครับ
สหัส : ใช่ครับ ตอนนี้พอทุกคนถูกแยกออกมาเขาก็ต้องคิด
และเป็นเหมือนมาแตะๆ เหมือนเวลาเราไปร้านตัดผม
อย่างเช่นไปร้านชลาชล ตัดเสร็จเรียบร้อย
คุณสมศักดิ์มาแตะๆ นิดหน่อย คือไม่ได้มาแตะเพื่อเป็นพิธี
แต่มาดูว่าแนวมันเป็นอย่างไร ให้มันอยู่ในแนวทาง
ผมว่าตรงนั้นคือการสร้างทีมที่ดี
สุรนันทน์ : มองตัวเองอีก 5 ปีข้างหน้า ABC ยังอยู่ตรงนี้
หรือจะขยายสาขา มองอย่างไรครับ
สหัส : อยู่ตรงไหนตอนนี้ไม่สำคัญแล้ว แต่ว่าอาจจะย้ายก็ได้ครับ
ตอนนี้ก็อาจจะหาที่สักที่หนึ่งที่ค่าเช่าถูกลง
และก็อยากให้มันใหญ่ขึ้น คือผมอยากจะสร้างเป็นโกดัง
เข้าไปห้องกว้างๆ มีโต๊ะ 5-6 โต๊ะ จุคนได้สัก 40-50 คน
เป็นปาร์ตี้ก็ได้ เป็นคุกกิ้งคลาสก็ได้และก็เป็นร้านอาหารสักหน่อยนึง
ผมว่าน่าจะอยู่ได้