Custom Search

Jul 29, 2010

อธิการบดี มธบ. แนะ ศธ.เร่งปั้นแม่พิมพ์ชาติคนรองรับประชาคมอาเซียน


มติชนออนไลน์

วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

อธิการบดี มธบ.ชี้วิกฤตใหญ่ 10 ปีข้างหน้า
ครูเรือนแสนถึง
วัยเกษียณอายุ แนะสบช่อง
เป็นโอกาสเติมครู
ดีเข้าไปแทน
ยืนยันหากไม่รีบ แก้ปัญหาจะลากยาวต่อไปอีก 30 ปี
รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

บรรยายเรื่อง
“ปัญหาระบบการศึกษาไทยกับการสร้างภูมิคุ้มกั
นทางสังคม”
ในการอบรมหลัก สูตรผู้
บริหารสื่อสารมวลชนระดับกลาง (บสก.)
จัดโดยสถาบันอิศรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย

ณ สมาคมนักข่าวนันังสือพิมพ์แห่ง ประเทศไทย
อธิการบดี ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ กล่าวถึงสถิติที่น่าสนใจของประเทศไทย
เมื่อ 12 ปีที่แล้ว ว่า เด็ก 100 คน
สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เพียง 53 คน

ระหว่างทางหายไป 57 คน และพบว่า
จบมหาวิทยาลัย จริงๆ ไม่ถึง 22 คน

ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปลูกฝังให้มี
การเรียนรู้ตลอดชีวิต
มากกว่าการเรียนรู้ภายในห้องเรียนด้วย
แม้ว่าจะออกมา จากระบบการศึกษาไปแล้ว
เพื่อปรับตัวให้เข้ากับสังคมในอนาคต

สำหรับ ปัญหาใหญ่ขอ
งการศึกษาไทยรศ.ดร. วรากรณ์ กล่าวว่า
ไม่มีความต่อเนื่องขาดความมุ่งมั่น
การบริหาร
และนโยบายการพัฒนาปรับเปลี่ยนบ่อย

จากเหตุผล ทางการเมือง อีกทั้งระบบราชการ

ทำให้ไม่สามารถ สั่งย้ายครูให้กระจายไปยังพื้นที่ชนบทได้เกิดการกระจุกตัว
ปริมาณครู ที่มีคุณภาพ
และจำนวนโรงเรียนไม่สมดุลกัน
ต้องจ้างครูอัตราจ้างส่งผลต่อการเรียน การสอนเด็กที่ไม่มีความต่อเนื่อง

“แม้ในปี พ.ศ.2520- 2530 มีการรับครูเกือบ 2 แสนคน
แต่ก็ไม่ได้มีการกลั่นกรองอย่างรอบคอบ
ด้วย เหตุจากการเร่งรีบเ
ปลี่ยนระบบการศึกษาจาก 6 ปี เป็น 9 ปี
มีการรับครู อย่างรวดเร็ว ผลที่ได้ก็คือ
วันนี้บุคลกรเหล่านั้นอยู่ในวัย 50-60 ปีและอีก 10 ปี
ครูจำนวนเกือบครึ่งหนึ่งจะถึงวัยเกษียณอายุ
ซึ่ง ถือเป็นวิกฤตใหญ่ แต่
ก็นับเป็นโอกาสในการเติมคนที่ดีเข้าไปแทน
หาก ไม่รีบแก้จะเป็นวิกฤตร
อบยาวอย่างน้อย 30 ปี ข้างหน้า”
รศ.ดร.วรากรณ์ กล่าว
ถึงปัญหา
การจัดสรรงบประมาณทางการศึกษาที่ด้อยคุ
ณภาพ
จากเงิน จำนวน 4 แสนล้านบาทของกระทรวงศึกษาธิก
าร
งบประมาณกว่า 2 แสนล้านบาท หรือ 78%
ลงไปที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ดูแลการศึกษาตั้งแ
ต่อนุบาลจนถึงมัธยมศึกษา
ส่วนใหญ่เป็นเงินเดือนของครูและบุคลากรทางการศึกษา
อีก 15 % เป็นการจัดกิจ
กรรมเหลือเพียง 6-7 % ไปที่งบพัฒนาโรงเรียน
ซึ่งต้องกระจายไปสู่ทุกโรงเรียนทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่
“เรื่อง ที่สำคัญยิ่งต่อความสำเร็จของระบบการศึกษา
คือ คุณภาพของครู ,การพัฒนาครูให้มีประสิทธิภาพ,
และสร้างระบบการศึกษาที่ให้เกิดการสอนที่ ดีที่สุด
โดยไม่สำคัญว่า เด็กจะ
เก่งหรือไม่เก่ง
แต่ต้องได้รับการเรียนอย่าง เท่าเทียมเพราะสิ่งที่เกิดในห้องเรียน หรือ
การสอนที่มีคุณภาพด้วยครูที่ ทรงความรู้และ

มีใจประกอบสิ่งแวดล้อมอันเหมาะสมต่อ
การเรียนรู้นับ เป็น หัวใจของคุณภาพการศึกษา”

ส่วนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
รศ.ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่
จำเป็นต้อง ปรับเปลี่ย
นวิธีคิดเป็นการปฏิรูปรอบสอง
โดยเน้นให้เกิด 4 ลักษณะคือ

มีคุณภาพ ใฝ่รู้ ใฝ่ดี คิดเป็นให้ทุกคนตระหนัก
แล
ะมีส่วนร่วมในการ ปฏิรูปการศึกษา
และส่งเสริมให้เกิดสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ เพื่อสังคม(สคส.)
ที่มีหลักเกณฑ์เหมือนการเก็บภาษีจากเหล้าและบุหรี่จาก เดิม 2 %
โดยจะเก็
บเพิ่ม เป็น 2.2 %
มาตั้งเป็นกองทุนให้ทุกคนมี ส่วนร่วมในการปฏิรูปการศึกษา
ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการ

รศ.ดร.วรากรณ์ กล่าวด้วยว่า ในอนาคต 5 ปีข้างหน้า
จะเกิดประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ขึ้น




เพื่อรวมพลังกันหาประโยชน์ ทางด้านเศรษฐกิจ การศึกษา
ดังนั้นหากให้ความสำคัญของ "คน"

เราต้องเริ่มกันตั้งแต่วันนี้ มองไปอีก 30 ปีข้างหน้า
จะเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาระบบใหม่ได้ทัดเทียมโลก





"วรากรณ์" คัมแบ็กธุร
กิจบัณทิตย์
ย้ำมหา"ลัยจิ๋วแต่แจ๋วไม่ปล่อยเกรด

ประชาชาติธุรกิจ

วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2553

เป็นที่จับตาในวงการการศึกษาอย่างยิ่งกับการกลับมาอีก ครั้งของ
"รองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ"

ในตำแหน่ง อธิการบดีคน ล่าสุดของมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์แทน
"รองศาสตราจารย์
ดร.อนุมงคล ศิริเวทิน" ที่หมดวาระลง
หลังจาก 3 ปีก่อน
รศ.ดร.วรากรณ์
ได้ลาไปโลดเล่นบนถนนการเมือง
ในตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์

และแน่นอนว่าการกลับมาเป็น
แม่ทัพ
ของมหาวิทยาลัยธุรกิ
จบัณฑิตย์ในครั้งนี้
ย่อมอยู่ในสายตาและความคาดหวังถึงการเปลี่ยนแป
ลง
ความเปลี่ยนแปลงที่ว่า
เริ่มตั้งแต่การทำงานวันแรกเมื่อ 1 มีนาคมที่ผ่านมา

จากการปรับทีมผู้บริห
ารมหาวิทยาลัยทั้งหมด
และจัดเสริมเพิ่มตำแหน่งทีมผู้บริหารใหม่ อย่าง
รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาองค์กร
ที่ไม่เคยมีมาก่อนซึ่งจะทำให้การทำงานชัดเจนขึ้น
รวมไปถึงการสานต่อภารกิจเดิมในด้านต่าง ๆ

ที่สร้างชื่อ ให้กับมห
าวิทยาลัยตามเป้าหมาย
นโยบายหลัก 4 ด้านคือ
ความสัมพันธ์กับเครือข่ายภายใน องค์กรและภายนอกองค์กร

ทั้ง ในประเทศและ ต่างประเทศ,

การบริหารจัดการ
องค์กรที่ดี,
คุณภาพการศึกษา,
ความพึงพอใจของลูกศิษย์
ผู้ปกครองและพนักงาน
ที่ทำงาน
ในมหาวิทยาลัย
เพื่อนำไปสู่การเป็น องค์กรทันสมัย
เป็นรากฐานการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสู่จุดยืนใหม่
"นำความรู้สู่การปฏิบัติ"

"วันนี้การเรียนการสอน
ล้าสมัยเร็วมาก
หากไม่มีการพัฒนากระบวนการเรียนรู้

ด้วยความอยากรู้อยากเห็นของตนเอง
การนำความรู้ไปปฏิบัติจะ
ทำให้คนตื่น ตัวอยากเรียนรู้ตลอดเวลา

เมื่อมีความรู้ใหม่มาก็สามารถรับได้
เพราะฉะนั้นการปฏิบัติ
จึงมีนัยสำคัญ
ของการทำงานได้
ทำงานเป็นและหางานง่าย"
รศ.ดร.วรากรณ์ กล่าวถึงความสำคัญตามจุดยืนใหม่
ขนาดไม่สำคัญเล็กก็สร้างคุณภาพได้

" อ.วรากรณ์" เล่าถึงรางวัลคุณภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา
(Malcolm Baldrid
e National Quality Award)
หรือMBNQA ซึ่งเป็นรางวัลที่ประธานาธิบดี
จะมอบให้กับ องค์กรต่าง ๆ ทั้งรัฐและเอกชน
โดยปีที่ ผ่านมามี 79 อ
งค์ กรได้รับรางวัล
ในนั้น เป็นสถาบัน การศึกษา 3 แห่ง 2 ใน 3
เป็นมหาวิทยาลัยขนาดเล็กซึ่งได้รับรางวัล
เนื่องเพราะมหาวิทยาลัยเล็ก

ทั้ง 2 แห่งนั้นมีแผนกลยุทธ์และผู้นำที่ดีมีผลงานเป็น
เลิศ
สามารถทำได้ตามพันธสัญญาที่ให้ไว้กับสังคม

ไม่มีต้นทุนที่ สูงเกินไ

และสุดท้ายคือมีคุณค่าเพิ่มให้กับนักศึกษา


"ริชแลนด์ คอลเลจและมงฟอร์ต
เป็นมหาวิทยาลัย ขนาดเล็กที่เปิดสอน
แค่ระดับใบประกาศ วิชาชีพและปริญญาตรี
แต่สามารถชนะอุด
มศึกษาใหญ่ ๆมากมาย
ที่เสนอขอเข้ารับรางวัลแต่ก็ไม่ได้
เป็นอุทาหรณ์ให้เห็นว่าการผลิตบุคลากรที่ดี ๆ
ไม่จำเป็นต้องเป็นมหาวิทยาลัยใหญ่เท่านั้น
"เพราะฉะนั้นไม่ว่าเราจะเป็นมหาวิทยาลัย ใหญ่หรือ
เล็กก็สามารถสร้างคุณค่าให้กับตนเองได้ทั้งนั้น

ไม่ว่าโรงงานผลิตรถ
เบนซ์หรือจักรยานตราจระเข้
ต่าง มีคุณภาพ ได้
เหมือนกัน
ไม่ได้อยู่ที่แบรนด์เล็กหรือใหญ่เพียงแต่ว่า
ตรงกับความต้องการของสังคม
หรือไม่
สิ่งที่ต้องทำคือเรื่องคุณภาพ
และทำตามแผนที่
ให้สัญญากับผู้ปกครอง"

ยันไม่เคยปล่อยเด็กจบแบบไร้คุณภาพ

รศ. ดร.วรากรณ์ยังกล่าวด้วยว่า
มหาวิทยาลัยแต่ละแห่
งก็มีจุดเด่นในแต่ละเรื่อง
ต่างกันถ้าถามว่าถ้าเทียบกันกับเด็กของเรา
ในสาขาวิชาความรู้อย่างเดียวกันและการทำงานอย่างเดี
ยวกัน
ผมว่า สู้ได้หลักฐานจากการประเมินต่างๆที่ออกมาก็เชื่อได้อย่างนั้น

"ยืนยันว่าไม่มีปริญญ
าใดของ
มหาวิทยาลัยที่เราปล่อยให้เด็กจบไปโดยไม่มีคุณภาพ
เชื่อว่ามี มหาวิทยาลัยน้อยแห่งที่อาจารย์มาบรรยายแล้ว

ต้อง เซ็นชื่อว่ามาสอนตามเวลานั้นจริง
มหาวิทยาลัย ใหญ่แห่งหนึ่งเวลาผ่านไป 2-3 ปี
ถึงรู้ว่า อาจารย์ไ
ม่ได้มาสอนแต่ให้คนอื่นมาสอนแทน
แต่เราไม่มีอันนี้เป็น
ตัวอย่างหนึ่ง"
ด้วยความใส่ใจในคุณภาพเช่นนี้ ทำให้เมื่อ 3 เดือนก่อน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้เป็น
มหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียวที่ได้รับการรับรอง คุณภาพมาตรฐาน สากล
ด้าน บุคลากรจาก ISO 9001 : 8000 ในทุกคณะทุกระบบ

เตรียม เปิดวิทยาลัยจีน

นอกจากนี้มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ยังมี
วิทยาลัยนานาชาติจากความสัมพันธ์กับ ออสเตรเลียและจีน
โดยประมาณเดือนมิถุนายนนี้จะ เปิดอาคารใหม่
เพื่อรองรับนักศึกษาใน หลักสูตร ภาษาจีน

เพราะที่ผ่านมานักศึกษ
าจีน
มาเรียนในหลักสูตรภาษาอังกฤษจำนวนมาก

"เพราะวันนี้โลกเคลื่อนมาสู่ศตวรรษของเอเชีย
ปีนี้ค่อนข้างมั่นใจว่าจีนจะแทนญี่ปุ่นเพราะสภาพเศรษฐกิ แข็งแกร่งกว่า

ด้วยเหตุนี้เรา จึงจะ
เปิดวิทยาลัยจีน
เพื่อรองรับนักศึก
ษา จากจีน
ที่จะเพิ่มขึ้นจากที่มีอยู่แล้ว 300 คน


"มันเป็นปรากฏการณ์ที่เราเห็นว่า
ขณะนี้ไปเรียนที่ไห
นในโลกก็ไม่จำเป็น
ต้องเรียน
เป็นภาษาของประเทศนั้นในฝรั่งเศส
เยอรมนีก็เปิดสอนเป็นภาษาอังกฤษ

เราต้องการไปในหลากหลายภาษามากขึ้น เช่น
อาจจะมีผู้เชี่ยวชาญจากหลายประเทศมาสอน
แต่เราแปลให้เป็นภาษาอังกฤษ

จะมีคนที่มีความรู้ห
ลากหลายสาขา
จากหลายประเทศมาให้ความรู้กับนักศึกษาของเรา"

ขณะเดียวกันธุรกิจบัณฑิตย์ก็ยังชัดเจน
ที่จะไม่ขยายสาขาไปนอกที่ตั้งเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ
ด้วยเชื่อว่าการเน้นคุณภาพและไม่สร้างตึกหวือหวา
จะเป็นปัจจัยที่ธุรกิจบัณฑิตย์สามารถอยู่ได้
ท่ามกลางความผันผวนมีความยั่งยืนกว่า
รวมถึงการใกล้ชิดรับฟั
งนักศึกษามากขึ้น
เร็ว ๆ นี้อาจเห็นว่า รศ.ดร.วรากรณ์
เปิดเฟซบุ๊กคุย กับนักศึกษาก็เป็นได้ !
เปิดเฟชบุ๊กคุยกับนักศึกษาก็เป็นได้!

มธบ.
รับอธิการบดีคนใหม่คงนโยบาย รักษา มาตรฐานการเรียนการสอน
วันที่ 16 มี.ค 2553

http://www.dpu.ac.th
http://www.varakorn.com

มหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.)
ต้อน
รับการกลับมาของ
รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ
อธิการบดีคนใหม่
หลัง
เสร็จสิ้นภารกิจและเงื่อนไข
การเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระ
ทรวงศึกษาธิการ
ในสมัยรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์

เตรียมนำ
ประสบการณ์ทั้งหมดมาบริหารมหาวิทยาลัย
ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น






เน้นการสอนแบบ
นำความรู้สู่การปฏิบัติอย่างมีมาตรฐาน
ขับเคลื่อนด้วยเครือข่ายความสัมพันธ์กับ

ทุกภาคส่วนทั้งในและต่างประเทศ

พัฒนาบุคลิกภาพบัณฑิตให้สอดคล้อง

กับตลาดแรงงานมั่นใจธุรกิจบัณฑิตย์

เป็นทางเลือกทางการศึกษาที่ดีที่สุดแห่ง หนึ่ง
โดย
รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

กล่าวว่าการกลับมาบริหาร
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ในครั้งนี้

เนื่องจากมีความมั่นใจในรากฐานการ

เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ดีของ

มหาวิทยาลัยแห่งนี้มาตลอด
42 ปี
ยิ่งได้รับโอกาสไปทำหน้าที่

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

เมื่อ 3 ปีที่ผ่านมายิ่งทำให้มั่นใจมากขึ้นว่าที่นี่มีคุณสมบัติที่ดี
และมีความพร้อมที่ จะพัฒนาในหลาย ๆ ด้าน

ทั้งคุณภาพทางวิชาการคุณภาพอาจารย์
ผลงานวิจัยความสำเร็จของบัณฑิตและ
ศิษย์เก่า
สถิติการได้งาน
ของผู้สำเร็จการศึกษา
ความ
ก้าวหน้าในการพัฒนาองค์กรให้ทันสมัย
โดยใช้เทคโนโลยีรวมถึงความมั่นคงทางการ เงิน

ทั้งนี้พร้อมนำความรู้และประสบการณ์ที่
ได้ รับ
ทั้งจากการเข้าไป
บริหารการศึกษาของประเทศ
ในฐานะรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

การได้รับเลือกให้เป็น
รองประธานคณะกรรมการการปฏิรูปการศึกษารอบ 2
การได้รับเลือกให้
เป็นประธานองค์กรมหาชน
คณะกรรมการ
ความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน
และการมีส่วนร่วมสร้างสรรค์สังคม
ในฐานะประธานมูลนิธิสงเคราะห์เด็กยากจน
ซี.ซี.เอฟ.
ในพระ
ราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ฯลฯ
มาประสานในการบริหารมหาวิทยาลัย
ให้เกิด
ความสัมพันธ์ที่ดีใทุกภาคส่วนทั้งเครือ ข่ายภายในและภายนอกประเทศ

สำหรับนโยบายการบริหารนั้นจะมุ่งเน้น

การรักษาคุณภาพมาตรฐานด้านการเรียนการส อน

การวิจัยส่งเสริมให้นักศึกษาเรียนรู้สู่
การนำไปปฏิบัติจริง
และ เตรียม ความพร้อมให้นักศึกษามีคุณสมบัติครบถ้วน
สำหรับการเป็นบุคลากรขององค์กรชั้นนำระดับ
ประเทศ
ซึ่งไม่ลืมการ
เป็น คนดีของสังคมและมีจิตสาธารณะ
โดยมั่นใจว่ามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
เป็นทางเลือกทางการศึกษาที่ดีที่สุดแห่ง หนึ่งของประเทศ

นอก
จากนี้นโยบายที่ผ่านมาของมหาวิทยาลัย
จะเน้นย้ำความเป็นมาตรฐาน
เรียกว่าเรา เป็น มวยหลัก
เชื่อว่าการแข่งขันที่เน้นการ
นำความรู้สู่การปฏิบัติไม่ใช่กระบวนการสอนอย่างเดียว
แต่เป็นการปฏิบัติเพื่อให้ทำงานเป็นทำงาน
ได้
เป็นจุดแข็งอย่าง
หนึ่งของมหาวิทยาลัย
ซึ่ง
สิ่งสำคัญคือการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติขั้นตอนที่สำคัญคือการแปลง หลัก สูตรทั้งหลาย
จากการสอนให้เกิดการเรียนรู้

โดยต้องอาศัยการอ่านการทำแบบฝึกหัดการจัด
กลุ่มอภิปราย
การสรุป
จากการอ่านการทำการบ้านในห้องเรียน
เพื่อกันไม่ให้ลอกจากอินเตอร์เน็ต

การที่มหาวิทยาลัยของรัฐรับสมัครนักศึกษา
เป็นจำนวนมาก
ทำให้ส่งผล
ต่อมหาวิทยาลัยเอกชนโดยตรง
ธุรกิจการศึกษาสำหรับ มธบ.เอง

ท่ามกลางสภาพการณ์แบบนี้

มหาวิทยาลัยก็สามารถดำเนินการเรียนการสอน
ได้เป็นปรกติ
เรียกว่าไม่ได้หวือหวาตามตลาด

โดย
ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้มหาวิทยาลัยอยู่ได้คือ
การยึดมั่นในมาตรฐาน

และหลักการของความคงทน

ทำสิ่งที่เป็นคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

ดังนั้นการแข่งขันจึงต้องแข่งกันด้วย
มาตรฐาน
มหาวิทยาลัยเอกชน
ชั้นนำหลายแห่ง
มุ่งไปที่มาตรฐานทั้งนั้น
ไม่มีใครใช้วิธีการหวือหวาส่วนใหญ่ที่
หวือหวาจะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนเล็กๆและ
เพิ่งเปิดใหม่

"
โดยทั่วไปสถาบันอุดมศึกษาทั้งในเมืองและนอกเมือง
ถือว่ายังไม่ได้มาตรฐานเท่าไรนักที่เป็น
เช่นนั้นส่วนหนึ่ง
มาจาก
คุณภาพของคณาจารย์ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับคณาจารย์รุ่นเก่าแล้ว
คณาจารย์รุ่นใหม่ยังมีพื้นฐานการศึกษาไม่
เข้มแข็งเท่า
เนื่อง
จากการศึกษาของคนรุ่นก่อนศึกษาเข้มข้นและได้มาตรฐานมากกว่า
และคนมากขึ้นแต่จำนวนคนได้รับทุนเท่าเดิม

ทำ ให้อาจารย์ ที่ เก่ง ๆ มีน้อยลง"
รศ.ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย