ประวัติการศึกษา / Educations
2008, Doctor of Philosophy, Architectural Science, Oxford Brookes University
1994, Master of Real Estate and Construction Management,
Real Estate and Construction Management,
University Of Denver
1992, สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง
ผลงานทางวิชาการ / Publicationsตำรา-ทั้งเล่ม / books2019, บ้านเรือน ตัวตน คนไทในอินเดีย., ครั้งที่ 1, 1000 หน้า. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2018, Persisting Tradition in Southeast Asian Traditional Houses, Vernacular Architecture Reflections Challenges and Future, Marwa Dabaieh and Valeria Prieto, 1, Solvegatan 14, house I. Lund: Media-Tryck.
2016, บ้านเรือน ตัวตน คนไทในอินเดีย, พิมพ์ครั้งที่ 1, จำนวน 360 หน้า. เชียงใหม่ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ISBN : 9786163980632.
2015, ความเชื่อมโยงทางสังคมวัฒนธรรมผ่านสถาปัตยกรรมที่อยู่อาศัยของชาติพันธุ์ไท กรณีศึกษาเรือนไทใหญ่ในรัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2557.
2014, รูปแบบบ้านเรือนของกลุ่มชาติพันธุ์ในอุษาคเนย์, เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2014, แนวคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะในมุมมองตะวันตกและตะวันออก, เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
, บ้านเรือนไทยองในรัฐฉาน
บทความวิชาการ / research / academic conferences2022, ความสัมพันธฺระหว่างกลุ่มปัจจัยเพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรมวิถีพุทธบนพื้นฐานวัฒนธรรมท้องถิ่น กรณีศึกษาโรงเรียนปะก๊ะจอง เชียงตุง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์
2019, The Dynamics of Dai Cultural Landscape and Vernacular Architecture in Asia, การประชุม ICOMOS – CIAV & ISCEAH 2019: International Conference on Vernacular & Earthern Architecture towards Local Development, ณ เมือง Pingyao ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน, 23-29.
2018, Environmental Degradation and Housing Adaptation: Some Lessons from Thailand., ICOMOS CIAV October 2018, Tabriz Iran, 1-10.
2017, The Dynamics of Tai Vernacular Architecture in Northeast India, Thai Studies: 13th International Conference on Thai Studies, หอประชุมนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่, 1181-1192.
2017, ลักษณะเฉพาะของที่ว่างในเรือนพื้นถิ่นไทยวน ในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, ประชุมวิชาการระดับชาติและการสัมมนาบัณฑิตศึกษา เรื่อง “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม ประจำปี 2560” (ครั้งที่ 3), ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2560. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
2017, เรือนไทลื้อในพันนาเมืองอู สปป.ลาว., ประชุมวิชาการระดับชาติและการสัมมนาบัณฑิตศึกษา เรื่อง “สรรค์สาระสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม ประจำปี 2560” (ครั้งที่ 3), ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2560. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
2013, Addressing Southeast Asian Vernacular Architecture Studies in The Changing Environment, International Conference on Vernacular Heritage & Earthen Architecture, 16-20 Oct. 2013, Vila Nova de Cerveira, Portugal.
2013, การสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงกายภาพชุมชนกำแพงงามและหัวฝาย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่, ICOMOS Thailand National Conference 2013. October 15-16, 2013.
2013, รอยต่อเมืองรอยต่อระหว่างการอนุรักษ์และการพัฒนา
2013, แนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะเชิงกายภาพเขตอนุรักษ์เมืองเก่าเชียงแสน, ICOMOS Thailand National Conference 2013. October 15-16, 2013.
2013, แนวทางการพัฒนาองค์ประกอบเชิงพื้นที่กายภาพและสังคมเพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมกายภาพของตลาดดอกไม้ต้นลำไย เชียงใหม่, ICOMOS Thailand National Conference 2013. October 15-16, 2013.
2012, The Use of Public Space for Walking Street Market in Thai Urban Cities
2012, การศึกษาเปรียบเทียบแบบแผนบ้านเรือนไทในอัสสัมและอรุณาจัลประเทศกับบ้านเรือนไทใหญ่ในรัฐฉาน สหภาพพม่า
2012, พัฒนาการของรูปแบบวิหารพะเยาในจังหวัดพะเยา, การประชุมวิชาการลุ่มน้ำโขงศึกษา ครั้งที่ 2 วันที่ 16-18 พฤศจิกายน 2555 ณ แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
2009, Promoting Vernacular Identity of Tungfabod Cattle Market Chiang Mai, การประชุมวิชาการนานาชาติ ISACS2009, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.
2008, Spatio-social Relationship: Bridging Anthropology, Architecture and Tourism in Homestay Study, The 3rd International Symposium on Architecture and Culture Suvarnabhumi 2008 (ISACS) ภายใต้ชื่อ “Local Wisdom, Universal Future (ISACS 2008)” ในวันที่ 20 – 22 ตุลาคม 2551 , Proceeding, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วารสารวิชาการ / research / academic papers2022, Amazing Fungi for Eco-Friendly Composite Materials: A Comprehensive Review, Aiduang, W, Chanthaluck, A, Kumla, J, Jatuwong, K, Srinuanpan, S, Waroonkun, T, Oranratmanee, R, Lumyong, S, & Suwannarach, N. (2022). Journal of Fungi, 8(8), 1-28. https://doi.org/10.3390/jof8080842
2022, การศึกษาภูมิทัศน์พื้นถิ่นล้านนาในบริบทชุมชนของ นักวิชาการไทยในประเทศไทย ช่วง พ.ศ. 2545 - 2564, อัมพิกา อำลอย, ศุภกุล เรืองวิทยานุสรณ์, วรงค์ วงศ์ลังกา, แผ่นดิน อุนจะนํา, อรัญญา ศิริผล และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2565). วารสารวิชาการภูมิสถาปัตยกรรม, 4(1), 62-81.
2021, Earthen–wooden hybrid houses built by the Dai in Dehong Prefecture, South China., Oranratmanee, R. & Ounchanum, P. (2021). Built Heritage 5, 16, https://doi.org/10.1186/s43238-021-00035-9. (ScopusQ2)
2021, The dynamic of Dai cultural landscape in Dehong in the sociopolitical context of China, Kasetsart Journal of Social Sciences, 42(2), 377 - 382.
2021, พลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น: กรณีศึกษา เรือนไทลื้อบ้านห้วยเม็ง จังหวัดเชียงราย, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 8(2), 149-171.
2021, รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของวิหารในเมืองยอง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 18(1), 104-133
2020, Cultural geography of vernacular architecture in a cross-cultural context: houses of the Dai ethnic minority in South China, Journal of Cultural Geography, 37(1), 67-87. SCOPUS Q1.
2020, ลักษณะเฉพาะของเรือนพื้นถิ่นไทในเมืองยอง รัฐฉาน สหภาพเมียนมาร์, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 17(2), 270-291.
2018, Vernacular Architecture of the Shan in Myanmar in the Southeast Asian Context., Vernacular Architecture, 49, 99-120. SCOPUS Q3.
2018, ลักษณะเฉพาะของที่ว่างในเรือนพื้นถิ่นไทยวน ในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม, 33, 39-59.
2018, หลักการออกแบบพื้นถิ่นบางประการ กรณีศึกษาเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่, วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2, 10-23.
2017, พลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ กรณีศึกษากลุ่มไทใหญ่ในอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอนและกลุ่มกะเหรี่ยงในพื้นที่พักพิงชั่วคราวแม่หละ จังหวัดตาก, วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Built Environment Inquiry Journal Faculty of Architecture Khon Kaen University, TCI, 16(1), 1-16.
2017, รูปแบบของเรือนไทลื้อในพันนา เมืองอู สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว., วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (JED), 4(2), 22-49.
2016, การถอดบทเรียนภูมิปัญญาการปรับตัวของเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่ บ้านแม่สามแลบ จังหวัดแม่ฮ่องสอน, สาวิตรี ศรีสวัสดิ์ และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี (2559). การถอดบทเรียนภูมิปัญญาการปรับตัวของเรือนพื้นถิ่นไทใหญ่ บ้านแม่สามแลบ จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม ออกแบบ และสภาพแวดล้อม วารสารวิชาการประจําคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30, 31-53. (TCI2)
2016, จากนอกสู่ใน: ลักษณะเรือนและที่ว่างในเรือนไทลื้อ เมืองล่า สิบสองปันนา., จีรพันธ์ จันทร์แดง และระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี (2559). จากนอกสู่ใน: ลักษณะเรือนและที่ว่างในเรือนไทลื้อ เมืองล่า สิบสองปันนา. วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(2), 100-121.
2016, พลวัตของภูมิปัญญาในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ ระหว่างถิ่นกำเนิดในเมืองลวง สิบสองพันนากับบ้านลวงเหนือ-บ้านลวงใต้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่, อินทนนท์ สุกกรี, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี (2559). พลวัตของภูมิปัญญาในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ ระหว่างถิ่นกำเนิดในเมืองลวง สิบสองพันนากับบ้านลวงเหนือ-บ้านลวงใต้ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยสถาปัตยกรรม ออกแบบ และสภาพแวดล้อม วารสารวิชาการประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 30, 3-30. (TCI2)
2016, พลวัตของย่านเก่าในเมืองอนุรักษ์ของไทย, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง (Journal of Mekong Society), 11(2), 97-111.
2016, พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไท กรณีศึกษาเรือนไทลื้อ และเรือนไทใหญ่, ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี, อินทนนท์ สุกกรี และสาวิตรี ศรีสวัสดิ์. (2559). พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไท กรณีศึกษาเรือนไทลื้อ และเรือนไทใหญ่. วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 3(2), 123–147.
2015, พลวัตทางสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของเรือนไทใหญ่ในอำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน จากการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 20(17), 18-26.
2015, รูปแบบและการก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นกะเหรี่ยงปกาเกอญอในพื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก, วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่., 2(1), 10-41.
2014, Streets as Public Spaces in Southeast Asia: Case Studies of Thai Pedestrian Streets, Journal of Urban Design, 19(2), 211–229.
2014, การดำรงอยู่ของย่านตลาดในพลวัตความเปลี่ยนแปลงของเมืองเชียงใหม่, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 10(2), 197-214.
2014, การพัฒนาพิพิธภัณฑ์มีชีวิตในย่านหน้าทอน เกาะสมุย, วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 13, 15-29.
2014, มองชาติพันธุ์ผ่านบ้านเรือนพื้นถิ่นไท, ร่มพยอม, 15(2), กรกฎาคม-ธันวาคม 2556, 1, 2
2013, ระบบเครือญาติกับการจัดระเบียบทางสังคมในเรือนยาวของอุษคเนย์, หน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบและสภาพแวดล้อม, 27, 89-110.
2012, การปรับใช้พื้นที่เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวในเรือนแรมทางภาคเหนือของไทย, วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง, 8(1), 35-54.
2012, การใช้พื้นที่สาธารณะเป็นถนนคนเดินแบบตลาดนัดในเมืองของไทย, วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8(3), 121-142.
2012, ความเชื่อเรื่องผีกับการก่อรูปของเรือนพื้นถิ่นอุษาคเนย์, หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย, 8, 334-347.
2011, Re-Utilizing Space: Accommodating Tourists in Homestay Houses in Northern Thailand, Journal of Architectural/Planning Research and Studies, 8(1), 35-54.
2010, สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น การศึกษา วิจัย และการปฏิบัติวิชาชีพ, วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., 8, 56-66.
ผลงานวิจัย / research works2019, วิจัยโครงการพลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทในเขตปกครอง ตนเองเต๋งหง สาธารณรัฐประชาชนจีน, ทุนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.),รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2017, วิจัยโครงการการส่งเสริมอัตลักษณ์เชิง พื้นที่ของกาดหลวงเชียงตุง ภายใต้พลวัตการเปลี่ยนแปลงเขตเศรษฐกิจวัฒนธรรมกลุ่ม ชาติพันธุ์ไท, ทุนสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2017, วิจัยโครงการโครงการหมู่บ้านรักษ์ สิ่งแวดล้อม, ทุนวิจัยสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
2014, แบบแผนบ้านเรือนไทในแคว้นอัสสัมและอรุณาจัลประเทศ พลวัตของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทในพื้นที่พหุวัฒนธรรม, เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2004, การเปรียบเทียบสภาวะน่าสบายในเรือนพื้นถิ่นของเชียงใหม่และหลวงพระบาง, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2546.
2004, ถนนคนเดินในเขตเมืองเชียงใหม่, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2546.
(เข้าถึงเมื่อ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๗)
วัดสวนดอก (พระอารามหลวง) จังหวัดเชียงใหม่
ภาพจาก คุณชนะ สัมพลัง