เหนือสิ่งอื่นใด
- เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี 9 มิถุนายน 2559
- พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) ณ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
- The 60th Anniversary Celebrations of his Majesty King Bhumibol Adulyadej's Accession to the Throne
- 63 ปี "พระเจ้าอยู่หัว ร.๙" ผู้นำที่ไม่เหมือนใครในโลก นำพาประเทศ "อยู่ดีมีสุข"
- Supreme Artist
- เศรษฐกิจพอเพียง : Sufficiency Economy พ.ศ. ๒๕๖๓
- ทศพิธราชธรรม ๑
- ทศพิธราชธรรม ๒
- ๑๐๐ ปี สวรรคตกาลสมเด็จพระปิยมหาราช
- ร.๙ ทรงห่วงเหตุการณ์ประเทศเพื่อนบ้าน
- พระบรมราโชวาท ร.๙
- "พูดแล้วต้องทํา" พระบรมราโชวาท "ในหลวง ร.๙" ทรงเตือน-ครม.
- ร. ๙ ทรงพระราชทานแก่พลเอกสุจินดา คราประยูร และพลตรีจำลอง ศรีเมือง
- ร.๙ ทรงรับสั่งรมต.ถวายสัตย์ฯ
- ร.๙ ทรงมีพระบรมราโชวาทแก่ตุลาการทหาร
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9 ทรงป้องกันน้ำท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘
- “ในหลวง ร.๙” ทรงฝากองคมนตรีปลูกฝังคนไทยเอื้อเฟื้อ นึกถึงส่วนรวม
- “ในหลวง ร.๙” เสด็จฯ ทอดพระเนตรดนตรีที่ศิริราช
- "ในหลวง ร.๙" เสด็จเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์-สะพานภูมิพล 1,2
- ในหลวง ร. ๙ เสด็จฯทอดพระเนตรคอนเสิร์ตแจ๊ส
- ๕ ธันวาคม ๒๕๕๒
- น้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณ"ในหลวง ร.๙"กับ"ภูมิสารสนเทศ"
- ในหลวง ร.๙ ทรงพระราชทาน ส.ค.ส.2554 แก่พสกนิกรชาวไทย
- 'ในหลวง ร.๙' ทรงมีพระราชดำรัสให้คนไทย ทำหน้าที่ ไม่ประมาท มีสติ : ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓
- วันฉัตรมงคล (ร.๙)
- ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙
- พระราชดำรัสสุดท้าย ในหลวง รัชกาลที่ 9
- ๑๒ สิงหา วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- "สมเด็จย่า"
- เจ้านายเล็กๆ ยุวกษัตริย์
- อาลัยพระพี่นางฯ
- ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โปรดให้นายโคฟี อันนัน เฝ้าถวายรางวัลฯ (๒๕ พ.ค.๔๙)
- "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร" มีพระราชดำรัสเกี่ยวกับการวิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์
- พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล
- ศิลปาชีพ : ประจักษ์พยานของความรัก ผูกพัน และห่วงใย
- เพลงสรรเสริญพระบารมี
- ชีวิตที่หมุนไปไม่หยุดยั้ง...พระอารมณ์ขันของพระเทพฯ
- ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนฯ
- สมเด็จพระเทพฯ กับการส่งเสริมไอที เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- สมเด็จพระเทพฯ สนพระทัยเมล็ดพันธุ์ช่วยหล่อเลี้ยงประชากร
- เครือข่ายกาญจนาภิเษก
- สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- ทรงพระเจริญ
- ของขวัญจากก้อนดิน
- ต้นไม้ของพ่อ
- รูปที่มีทุกบ้าน
- นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ
- ติโต
- ไม่มีวันไหนที่ไม่คิดถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙
- พระราชนิพนธ์ พระมหาชนก ที่ทุกคนพึงอ่าน
- โครงการแก้มลิง
- ทำไมเรารัก "พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"
Dec 30, 2020
[Live] Nanake555 All Star 11 แขกรับเชิญ มาทุกคน !!
"ดร.ประสม"กับ 10 ปีสึนามิ
ชื่นชุมนุมนักเรียนเก่า เราเทพศิรินทร์
Dec 28, 2020
28 ธันวาคม วันคล้ายวันปราบดาภิเษกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชพระมหากษัตริย์แห่งกรุงธนบุรี
คาราบาว - เจ้าตาก [Official Audio]
ที่มา https://www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_5162
Dec 26, 2020
พ.ต.ต. มงคลรักษ์ จุฑานนท์ เจ้าของฟาร์มแมวหรูระดับ 'SUPERCAT'
เรื่องโดย: Sawitree
ถ่ายภาพโดย: Topforest
ที่มา : http://www.magazinedee.com/home/main/contentdetail/id/213/
พ.ต.ต.มงคลรักษ์ จุฑานนท์ หรือ "คุณปุ้ย"
เป็นลูกชายคนโตของ พล.ต.อ.จงรัก จุฑานนท์
อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
หลังจากเรียนจบจากวิทยาลัยนานาชาติ
เอก Multimedia Design มหาวิทยาลัยศิลปากร
ก็ทำงานในวงการออกแบบดีไซน์อยู่ประมาณ 2 ปี
ก่อนที่ปัจจุบันจะเจริญรอยตามคุณพ่อ
ด้วยการเข้ารับราชการตำรวจ
สังกัดกองทะเบียนประวัติอาชญากร
แผนกสเก็ตช์ภาพคนร้าย
(เรียกว่ายังไม่ทิ้งทักษะด้านศิลปะที่ตัวเองถนัด)
แต่อีกด้านหนึ่งของคุณปุ้ยที่ไม่ค่อยมีใครรู้คือ
การทำธุรกิจฟาร์มแมวที่เกิดขึ้นจาก "ใจรัก" ล้วนๆ
Dec 25, 2020
Dec 24, 2020
โทรไปแล้วใจสั่น “อั้ม” มีกำหมัด!!! หน้าไมค์ “นัท มีเรีย” | #คุยให้เด็กมันฟัง
Dec 14, 2020
สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย - เรื่องราวแห่งความสำเร็จ : สถาบันเกอเธ่ประเทศไทย (Goethe-Institut, Thailand) 60 ปี
เขียนโดยมาร์ติน ชัค์ท
ที่มา : https://www.goethe.de/ins/th/th/ueb/60j/21764013.html
ปีค.ศ. 2020 (พ.ศ. 2563) เป็นปีฉลองครบรอบ 60 ปีสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) นับเป็นสถาบันเกอเธ่แห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และปัจจุบันเติบใหญ่เป็นอันดับสามของสถาบันเกอเธ่ที่มีอยู่ทั่วโลก สถาบันเกอเธ่มีบทบาทในการสื่อภาพรวมของประเทศเยอรมนีโดยการให้ข้อมูลข่าวสารด้านสังคม ชีวิตผู้คน และการเมือง พร้อมส่งเสริมการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศไทยและเยอรมนีรวมทั้งยุโรป ผ่านการเรียนการสอนภาษา, การทำกิจกรรมด้านวัฒนธรรม, ความร่วมมือในการจัดเทศกาลต่างๆ การสร้างผลิตและการแลกเปลี่ยนผู้ทำงานศิลปะแขนงต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ภาพยนตร์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ การละคร นิทรรศการ วรรณคดี ไปจนถึง การแปลภาษาสถาบันฯ ทำงานร่วมกับหน่วยงานการศึกษาของไทย มหาวิทยาลัย และโรงเรียนในทุกภาคของประเทศไทย
ในสถาบันฯ ครูผู้สอนภาษาเยอรมันได้รับการอบรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถให้ทันสมัย ในขณะเดียวกันผู้เข้าเรียนภาษาก็ได้เข้าร่วมทำกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันจนเกิดความคุ้นเคย ส่วนศิลปินหรือคนทั่วไปผู้ที่ชื่นชอบสนใจประเทศเยอรมนี สถาบันฯ ก็คือ ประตูสู่โลกในชีวิตจริงของคนเยอรมันปีค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) สถาบันเปิดทำการครั้งแรกในตึกที่ตั้งอยู่ตรงหัวมุมถนนพญาไทกับถนนศรีอยุธยา ยุคนั้น กรุงเทพฯ ยังไม่มีตึกสูงเสียดฟ้า เป็นเมืองหลวงที่น่าอยู่ มีคูคลองไหลทะลุถึงกันหลายสาย มีบ้านไม้ ไสตล์โคโลเนียลหลังงามตั้งเรียงรายอยู่ริมคลอง สถาบันเกอเธ่เปิดทำการแรกเริ่มในสภาพแวดล้อมรื่นรมย์เช่นนั้น ผู้อำนวยการท่านแรกของสถาบันฯ อาศัยและใช้ชีวิตอยู่ในกรุงเทพฯ มานานหลายปีแล้วโดยประกอบอาชีพเป็นครู ซึ่งในสมัยนั้นงานหลักของสถาบันฯ ก็คือการสอนภาษาเยอรมัน แม้สถาบันฯ ได้ใช้ตึกหลังนั้นเป็นที่ทำการแค่ไม่กี่ปี แต่ก็มีเรื่องราวแปลกๆ ที่ผูกอยู่ในหน้าประวัติศาสตร์ของสถาบันฯ ซึ่งขาดไปเสียไม่ได้ และดูเหมือนกลายเป็นธรรมเนียมไปแล้วด้วยซ้ำ นั่นก็คือเรื่องผีเฝ้าบ้าน โดยชาวบ้านลือกันว่า มักเห็นร่างชายไม่คุ้นหน้าคุ้นตาตนหนึ่งยืนสูบบุหรี่อยู่ที่หน้าต่างบ้านตอนดึกดื่น
ในยุคนั้น สถาบันฯ เปิดสอนภาษาเยอรมันภาคค่ำเป็นหลัก แต่ไม่นานนักก็เริ่มชัดเจนว่าต้องหาตึกที่ใหญ่กว่านี้ เพื่อรองรับแผนกกิจกรรมด้านวัฒนธรรม กระทั่งไปพบบ้านใหญ่หลังหนึ่งบนถนนพระอาทิตย์ เขตพระนคร ย่านตัวเมืองเก่าแรกตั้งกรุง ซึ่งไม่ไกลจากถนนข้าวสาร แหล่งรวมนักท่องเที่ยวแบกเป้
ทำเลที่มีบริเวณโดยรอบเช่นนี้เอื้อต่อการตั้งสถาบันทางวัฒนธรรมอย่างยิ่ง เนื่องจากในบริเวณใกล้เคียงมีสถาบันและ สถานที่สำคัญระดับชาติหลายแห่งตั้งอยู่ด้วยซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการแสวงหาความร่วมมือระหว่างสองชาติ อาทิเช่น พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หอศิลป์แห่งชาติ โรงละครแห่งชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร (มหาวิทยาลัยศิลปะ) และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่ข้อสำคัญก็คือ การที่ได้อยู่ใกล้กับมหาวิทยาลัยก็แน่นอนว่า ย่อมมีนักศึกษาและผู้สนใจจำนวนมากหลั่งไหลเข้ามาเรียนภาษาเยอรมันที่สถาบันฯ
บ้านพระอาทิตย์นี้มีต้นไม้สูงใหญ่อายุหลายปีหลายต้นขึ้นปกคลุมให้ร่มเงาร่มรื่น ตัวบ้านใหญ่โต เนื้อที่กว้างขวางเสียจนเดินแล้วเมื่อยขา และที่สะดุดตาก็คือ มียอดโดมประดับบนหลังคาทรงสูง ในแบบเดียวกับสถาปัตยกรรมกอธิค ตัวบ้านก่ออิฐฉาบปูนทาสีขาวทั้งหลัง หน้าต่างกระจกทรงสูงชะลูด ทั้งหมดดูเชื้อเชิญให้คนภายนอกเข้ามาเยี่ยม เจ้านายไทยเชื้อพระวงศ์ผู้เป็นเจ้าของบ้านพำนักอยู่ในวังข้างๆ ถนนหน้าบ้านมีรถรางวิ่งผ่านไปมา ที่นี่เป็นสถานที่ที่คนไทยทุกรุ่นทุกวัยได้เข้ามาสัมผัสกับภาษาและวัฒนธรรมเยอรมันเป็นครั้งแรก
แม้กระทั่งทุกวันนี้ สถาบันเกอเธ่เก่าที่ถนนพระอาทิตย์ก็ยังคงเป็นสถานที่ที่หมู่คนไทยรุ่นอาวุโสเล่าขานถึงด้วยความชื่นชม
กรุงเทพฯ ในทศวรรษ 1960 คนไทยมีโอกาสน้อยมากที่จะได้รับฟังดนตรีคลาสสิกหรือดนตรีแจ๊ส แต่ที่สถาบันเกอเธ่มีสถานที่เหมาะสำหรับจัดคอนเสิร์ตแบบอบอุ่นและเป็นกันเองที่ห้องชั้นบน ห้องนี้ยังใช้เป็นห้องซ้อมดนตรีสำหรับวงออร์เคสตร้า Pro Musica Orchestra (โปร มูซิกา ออร์เคสตร้า) ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปีเดียวกัน
ในช่วงต้นทศวรรษ 1970 กิจการสอนภาษาเยอรมันของสถาบันเกอเธ่ขยายตัวอย่างมหาศาล จนต้องเช่าบ้านบนพื้นที่ของบ้านพระอาทิตย์เพิ่มอีกหลังหนึ่ง ในยุคนั้น ภารกิจสำคัญของสถาบันฯ ก็คือ การฝึกอบรมภาษาเยอรมันเพิ่มเติมให้แก่ครูไทยผู้สอนภาษาเยอรมัน และการสนับสนุนการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย ในช่วงหลายปีนั้น สถาบันฯ ก็ได้ริเริ่มบทบาทการเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมสมัยนิยมในประเทศไทย งานกิจกรรมทุกงานหมายถึงการได้พบปะกับผู้มีชื่อเสียงด้านศิลปกรรมและด้านวัฒนธรรมแขนงต่างๆ
สถาบันฯ เสนอตัวเป็นเวทีสนทนาเชื่อมวัฒนธรรมตะวันตกกับวัฒนธรรมเอเชีย
แล้วสถาบันเกอเธ่เองก็เป็นองค์กรที่เต็มไปด้วยจิตใจปฏิรูปใหม่ ในยุคนั้นศิลปินต่างประสบความยากลำบากในการจัดแสดงผลงานของตน สถาบันฯ ก็เอื้อฟื้อห้องในบ้านพระอาทิตย์ให้ศิลปินใช้เป็นห้องแสดงนิทรรศการ ส่งให้ศิลปินกลายเป็นดาวรุ่งพุ่งแรง ปัจจุบัน หลายคนมีชื่อเสียงโด่งดังถึงระดับนานาชาติ ในปีค.ศ. 1971 (พ. ศ. 2514) สถาบันฯ ได้จัดแสดงงานจิตรกรรมของ ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินหนุ่มผู้ถูกประณาม แต่ต่อมาเขากลายเป็นหนึ่งในศิลปินที่มีชื่อเสียงที่สุดในประเทศไทย วันนี้ผลงานของเขาติดตั้งอยู่ในแทบทุกห้องแสดงของ MOCA (พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย) บ้านของเขา “บ้านดำ” ในเชียงรายกลายเป็นสถานที่แสวงบุญสำหรับผู้รักศิลปะ แต่นอกเหนือจากกิจกรรมด้านศิลปะแล้ว หนึ่งในภารกิจหลักของสถาบันเกอเธ่ในช่วงเวลาดังกล่าวก็คือ การก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีในประเทศไทยซึ่งก่อตั้งขึ้นจากวง Pro Musica Orchestra (โปร มูซิกา ออร์เคสตร้า) ที่มีอยู่แล้ว โดยใช้ชื่อว่า Bangkok Symphony Orchestra (วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ)
และเช่นกัน ที่นี่ในตึกบ้านพระอาทิตย์ก็ไม่พ้นมีเรื่องคนเห็นผีให้ได้ขนลุกกัน ว่ากันว่าวิญญาณร่างนั้นปรากฏตัวในห้องประชุม พวกพนักงานพากันนับถือท่าน ว่าเป็นเจ้าที่เจ้าทางผีบ้านผีเรือนให้ความคุ้มครองที่ใครกราบไหว้บูชาแล้วจะได้ในสิ่งที่ประสงค์
ปีค.ศ. 1985 (พ.ศ. 2528) เป็นปีฉลองก่อตั้งสถาบันฯ ครบรอบ 25 ปี ก็มีการกำหนดวันทำบุญขึ้น และนิมนต์พระภิกษุสงฆ์มาทำพิธีตามธรรมเนียมทางพุทธศาสนาเพื่อเป็นสิริมงคลแก่สถาบัน หลังจากวันนั้นไม่นานก็มีผู้หยิบยื่นข้อเสนอสร้างอาคารใหม่ในเขตทุ่งมหาเมฆในบริเวณใกล้เคียงกับสถานทูตเยอรมัน เพื่อสนองความต้องการของผู้สนใจวัฒนธรรมเยอรมันที่เพิ่มมากขึ้น นักธุรกิจคนนึงชื่อ คาร์ล แวร์เนอร์ ดรูส อาศัยอยู่ในประเทศไทยมาเป็นเวลานานและได้ลงทุนทำธุรกิจที่นี่จนมีทรัพย์สินมั่งคั่ง เขาต้องการทำสิ่งที่ดีให้สังคม ที่ดินผืนดังกล่าวนั้นเขาได้สัญญาเช่าที่ดินระยะยาว เขาจึงประสงค์บริจาคสิทธิใช้ที่ดินพร้อมกับการก่อตั้งมูลนิธิวัฒนธรรมไทย - เยอรมัน (TDKS) ซึ่งเป้าหมายของมูลนิธิวัฒนธรรมไทย - เยอรมัน ก็คือการส่งเสริมมิตรภาพเยอรมัน - ไทย ซึ่งหมายถึงการดำเนินกิจการในรูปแบบของการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ดังนั้นจึงเป็นเรื่องเหมาะสมที่สุดที่สถาบันเกอเธ่จะได้รับข้อเสนอให้ลงเรือลำเดียวกัน
บนที่ดินที่มีสัญญาเช่าระยะยาวผืนนั้นมีบ้านสไตล์โคโลเนียลตั้งอยู่แล้ว ซึ่งมีสไตล์คล้ายคลึงกับสโมสรเยอรมันแห่งหนึ่งบนถนนสาทรสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง นอกจากนี้ ก็ยังมีเนื้อที่อีกเหลือเฟือสำหรับสร้างตึกใหม่ แถมสถาบันเกอเธ่ยังสามารถรับการสนับสนุนด้านทุนเงินกู้จากดรูสได้อีกด้วย แม้การเปลี่ยนแปลงทำเลที่ตั้งอาจส่งผลให้สถาบันฯ สูญเสียกลุ่มเป้าหมายและพันธมิตรในพระนครไปบ้าง แต่ความเป็นไปได้ที่จะตั้งต้นยุคใหม่ก็อยู่เหนือความพะวักพะวน ดังนั้นในปีค.ศ. 1986 (พ.ศ. 2529) ขณะที่นายกรัฐมนตรีเยอรมนี เฮลมุท โคห์ล อยู่ระหว่างการเยือนประเทศไทย ท่านจึงได้รับเชิญมาทำพิธีเปิดแพรคลุมป้ายมูลนิธิ ถือเป็นฤกษ์ประเดิมการก่อสร้างอาคารใหม่ที่วางแผนไว้
ส่วนที่เหลือให้เล่าต่อก็คือเรื่องราวแปลกๆ ที่แฝงอยู่ในหน้าประวัติศาสตร์ของสถาบัน: ในปีค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) หลังจากเปิดตึกที่ทำการใหม่ไปได้ไม่นาน วิญญาณผู้คุ้มครองสถาบัน ณ ที่แห่งใหม่ก็ปรากฏตัวในร่างของ "ฝรั่ง" สวมชุดแต่งกายสไตล์โคโลเนียล โดยมีคนเห็นท่านที่ท้ายสระว่ายน้ำ พนักงานเชื่อกันว่าเป็นวิญญาณของที่ปรึกษาข้าราชการต่างชาติในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเคยอาศัยอยู่ในตึกหลังเก่าแล้วลื่นล้มเสียชีวิตในห้องน้ำ
ในปีค.ศ. 1999 (พ.ศ. 2542) ซอยที่ตั้งของสถาบันได้รับการเปลี่ยนชื่อเป็นซอยเกอเธ่ ที่ซึ่งทุกวันนี้คนขับรถแท็กซี่หลายคนในกรุงเทพฯ รู้พิกัดดี โดยไม่ต้องใช้จีพีเอส และไม่ต้องสอบถามหาหนทางจากแหล่งใดทั้งสิ้น แทบไม่ต้องหาอะไรมาพิสูจน์ยืนยันกันแล้ว ด้วยชัดเจนว่าสถาบันเกอเธ่เป็นสถาบันหนึ่งที่อยู่คู่กรุงเทพฯ มาหลายทศวรรษแล้ว ชื่อนี้เป็นชื่อที่ทุกคนรู้จักคุ้นหูกันดี สถาบันเกอเธ่มีห้องเรียน ห้องสมุด โรงอาหาร และร้านอาหารเยอรมัน "Ratsstube" (ราทชตูเบอ) ปัจจุบัน สถาบันฯ เป็นศูนย์กลางที่มีชีวิตชีวาในหมู่นักเรียนนักศึกษาภาษาเยอรมัน และกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หอประชุมได้รับการปรับปรุงครั้งใหญ่ให้ทันสมัยและเปิดตัวอีกครั้งในปีค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) เสนอความเฟี้ยวฟ้าวด้วยเทคโนโลยีชั้นเลิศที่ให้เสียงอะคูสติกยอดเยี่ยม กับพื้นที่ที่ลงตัวอย่างเหลือเกินสำหรับจัดแสดงคอนเสิร์ต ฉายภาพยนตร์ และแสดงละครเวที สถาบันเกอเธ่เป็นสถานที่ของการปะทะสังสรรค์ระหว่างเยอรมนีกับประเทศไทย ซึ่งมีประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์เต็มเปี่ยมด้วยมิตรภาพที่ดำเนินมาอย่างยาวนาน และในอนาคตสถาบันฯ ก็จะส่งเสริมการสนทนาแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศให้ยั่งยืนต่อไป
Dec 12, 2020
วาฬเกยตื้น - GUNGUN
Dec 11, 2020
Tuscan cookbooks
A native of Lucca and the chef-owner of Beppe, Cesare Casella is the realthing when it comes to Tuscan food. In True Tuscan, Casella offers authentic recipes and Beppe favorites, as well as history and legends, culinary andotherwise, of Italy's most adored region.
From Catherine di Medici, who introduced the French to the fork and highheels, to Italian cowboys, this region boasts an intriguing and exciting heritage, and an equally thrilling cuisine.
In True Tuscan, Casella presents the Tuscany he knows--the time-honoredrecipes of his ancestors spiced with historical facts and gossip.Casella is not afraid to update and improve, as his Beppe dishes make clear,but he is devoted to the Tuscan spirit, which he is uniquely qualified tocelebrate and explore.These 125 tempting and satisfying recipes cover every course, from antipastito dolci, and feature authentic flavors that promise to surprise and delight youand your guests.
True Tuscan cookbook
-- who introduced the fork
and high heels to the
French -- to Italian cowboys,
Tuscany boasts an intriguing,
exciting heritage
and an equally thrilling cuisine.
In True Tuscan, renowned restaurateur
Chef Cesare presents the time
honored recipes of the Tuscany he knows.
At fifteen, Chef Cesare began working at Il Vipore,
his parents' trattoria just
outside Lucca. He earned a culinary degree
from the town's hotel school, and
in 1979 he took over the kitchen of Vipore,
ultimately transforming the
humble trattoria.
By 1993 the restaurant had its first Michelin star.
During these years Chef Cesare developed
his trademark herb-infused style of cooking.
Chef Cesare is not afraid to update and
improve upon tradition, as his recipes
make clear, but he is devoted to the Tuscan spirit,
which he is uniquely
qualified to celebrate and explore.
These 125 tempting and satisfying recipes
-- spiced with historical facts and
gossip -- cover every course, from antipasti to dolci,
and feature authentic
flavors that promise to surprise
and delight you and your guests.
ISBN13: 9780060555559;
Pages: 256; $24.95
Chef Cesare Casella
Cesare Casella, born on 3/1/1960,
is an acclaimed Italian chef who grew up
among the pots and pans of Vipore,
the small trattoria his parents, Rosa and
Pietro, owned outside of Lucca, Italy.
At age 14, Cesare enrolled in
the Culinary Institute Ferdinando Martini, in
Montecatini, and sharpened his practical cooking skills
while studying the
history of food.
After graduating, Cesare set about turning
Vipore from a local favorite into
both a regional and international destination.
He began developing his trademark herbal cuisine
(thanks in part to a garden
with over 40 types of aromatic herbs)
and updating traditional Italian recipes
with new ideas and twists.
By 1991, Cesare had earned Vipore a Michelin star
and a reputation that
attracted clients from Henry Kissinger to Tom Cruise.
In 1993, Chef Casella was named
Executive Chef of Coco Pazzo in New York City.
Soon there after, he launched its sister restaurant,
Il Toscanaccio.
In March 2001, he opened his first solo New York restaurant, Beppe, in honor of his grandfather,
Giuseppe Polidori.
Beppe has earned critical praise and
commercial success for authentic,
rule-bending Tuscan cuisine.
Chef Casella then launched “Republic of Beans”,
an Italian import company of
heirloom beans, grains and spices.
Through his collaboration with
Thanksgiving Farms, in upstate New York,
Chef Casella helps to raise
Chianina (Italian cows), pigs,
and grow certified organic produce.
In 2005, Chef Casella opened
the critically-acclaimed Italian restaurant,
Maremma. This Italian trattoria pays homage
to the beautiful region of
Maremma in the southwest of Tuscany,
and its traditionally-Italian and
seasonally-driven menu
features house-made cured meats and sausage,
pastas and other organic products.
In 2006, the French Culinary Institute appointed
Chef Casella as the first dean
of Italian Studies in both New York City and Parma, Italy.
Chef Casella designed and wrote
the extensive curriculum for the joint
programs and will continue to oversee
the comprehensive training of all
chefs and instructors involved.
The Italian Culinary Academy launched in
October of 2006 in New York City
and in January of 2007 in Parma.
The academy is part of the International Culinary Center, previously known as
the French Culinary Institute.
Chef Casella has written three cookbooks,
Diary of a Tuscan Chef(Doubleday),
Italian Cooking for Dummies (IDG) and,
most recently, True Tuscan (Harper Collins).
He has also been featured in many publications,
including Gourmet,
BonAppetit and Food & Wine.
He has been the subject of a series of The New York Times’
'The Chef' columns.
His frequent television appearances include segments on
ABC and CBS news
programs, The Food Network’s Tyler’s Ultimate and
Molto Mario as well as Martha Stewart Living.
He appears regularly at the James Beard House and
DeGustibus in New York
City, as a featured guest chef, and is an active member
and supporter of City
Harvest, Slow Food USA, Chef’s Collaborative,
Seafood Alliance and the
Gruppo Ristoratori Italiani(GRI), an organization
which seeks to promote Italian cuisine
Dec 7, 2020
7 ธันวาคม พ.ศ. 2563
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
ภาพพระสาทิสลักษณ์ จาก สำนักข่าวเจ้าพระยา
พระประวัติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
หม่อมหลวงโสมสวลี กิติยากร ได้รับโปรดเกล้าฯ
ให้เข้าศึกษาในระดับอนุบาลที่โรงเรียนจิตรลดา รุ่นที่ 5
เมื่อปี 2504 รุ่นเดียวกับสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเจ้าน้องนางเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
กรมพระศรีสวางควัฒน์ วรขัตติยราชนารี
แต่เมื่อสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
หม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ ย้ายไปเป็นผู้พิพากษาศาลจังหวัดเชียงใหม่ ในปี 2510
พระองค์ก็ทรงลาออกจากโรงเรียนเดิมและย้ายไปประทับที่เชียงใหม่โดยเข้าเรียน ที่โรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัย
เป็นเวลา 2 ปี และเมื่อบิดาได้ย้ายกลับมายังกรุงเทพมหานคร
ทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระยะหนึ่ง แต่ด้วยมิสะดวกต่อการรับส่ง
จึงได้ย้ายมาศึกษาอยู่ที่โรงเรียนราชินี เนื่องจากเป็นเส้นทางเดียวกับเส้นทางที่ไปยังที่ทำงานของบิดา