เหนือสิ่งอื่นใด
- เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี 9 มิถุนายน 2559
- พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ร.๙) ณ วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
- The 60th Anniversary Celebrations of his Majesty King Bhumibol Adulyadej's Accession to the Throne
- 63 ปี "พระเจ้าอยู่หัว ร.๙" ผู้นำที่ไม่เหมือนใครในโลก นำพาประเทศ "อยู่ดีมีสุข"
- Supreme Artist
- เศรษฐกิจพอเพียง : Sufficiency Economy พ.ศ. ๒๕๖๓
- ทศพิธราชธรรม ๑
- ทศพิธราชธรรม ๒
- ๑๐๐ ปี สวรรคตกาลสมเด็จพระปิยมหาราช
- ร.๙ ทรงห่วงเหตุการณ์ประเทศเพื่อนบ้าน
- พระบรมราโชวาท ร.๙
- "พูดแล้วต้องทํา" พระบรมราโชวาท "ในหลวง ร.๙" ทรงเตือน-ครม.
- ร. ๙ ทรงพระราชทานแก่พลเอกสุจินดา คราประยูร และพลตรีจำลอง ศรีเมือง
- ร.๙ ทรงรับสั่งรมต.ถวายสัตย์ฯ
- ร.๙ ทรงมีพระบรมราโชวาทแก่ตุลาการทหาร
- พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9 ทรงป้องกันน้ำท่วม ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘
- “ในหลวง ร.๙” ทรงฝากองคมนตรีปลูกฝังคนไทยเอื้อเฟื้อ นึกถึงส่วนรวม
- “ในหลวง ร.๙” เสด็จฯ ทอดพระเนตรดนตรีที่ศิริราช
- "ในหลวง ร.๙" เสด็จเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์-สะพานภูมิพล 1,2
- ในหลวง ร. ๙ เสด็จฯทอดพระเนตรคอนเสิร์ตแจ๊ส
- ๕ ธันวาคม ๒๕๕๒
- น้อมรำลึกพระมหากรุณาธิคุณ"ในหลวง ร.๙"กับ"ภูมิสารสนเทศ"
- ในหลวง ร.๙ ทรงพระราชทาน ส.ค.ส.2554 แก่พสกนิกรชาวไทย
- 'ในหลวง ร.๙' ทรงมีพระราชดำรัสให้คนไทย ทำหน้าที่ ไม่ประมาท มีสติ : ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓
- วันฉัตรมงคล (ร.๙)
- ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙
- พระราชดำรัสสุดท้าย ในหลวง รัชกาลที่ 9
- ๑๒ สิงหา วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
- "สมเด็จย่า"
- เจ้านายเล็กๆ ยุวกษัตริย์
- อาลัยพระพี่นางฯ
- ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โปรดให้นายโคฟี อันนัน เฝ้าถวายรางวัลฯ (๒๕ พ.ค.๔๙)
- "พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร" มีพระราชดำรัสเกี่ยวกับการวิจารณ์สถาบันพระมหากษัตริย์
- พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล
- ศิลปาชีพ : ประจักษ์พยานของความรัก ผูกพัน และห่วงใย
- เพลงสรรเสริญพระบารมี
- ชีวิตที่หมุนไปไม่หยุดยั้ง...พระอารมณ์ขันของพระเทพฯ
- ถ้าเดินเรื่อยไปย่อมถึงปลายทาง นิทรรศการภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเทพรัตนฯ
- สมเด็จพระเทพฯ กับการส่งเสริมไอที เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
- สมเด็จพระเทพฯ สนพระทัยเมล็ดพันธุ์ช่วยหล่อเลี้ยงประชากร
- เครือข่ายกาญจนาภิเษก
- สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- ทรงพระเจริญ
- ของขวัญจากก้อนดิน
- ต้นไม้ของพ่อ
- รูปที่มีทุกบ้าน
- นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ
- ติโต
- ไม่มีวันไหนที่ไม่คิดถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙
- พระราชนิพนธ์ พระมหาชนก ที่ทุกคนพึงอ่าน
- โครงการแก้มลิง
- ทำไมเรารัก "พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร"
Oct 23, 2024
Oct 13, 2024
Oct 6, 2024
Oct 4, 2024
4 ตุลาคม 2313 พระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนา “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร” เป็นราชธานี
พระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสถาปนาเมืองธนบุรี เป็นราชธานีแห่งใหม่ ทรงสร้างพระราชวังทางทิศใต้ของกรุงธนบุรี ขนาบข้างด้วย วัดแจ้ง(วัดมะกอก - วัดอรุณราชวรารามราชวรวิหาร) และวัดท้ายตลาด (วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร) และพระราชทานนามว่า “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร”
4 ตุลาคม “วันสัตว์โลก” (World Animal Day)
https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/9/iid/220715
ในวันที่ 4 ตุลาคมของทุกปี ถูกกำหนดขึ้นให้เป็นวันสำคัญของโลกอีกวันหนึ่งก็คือ วันสัตว์โลก (World Animal Day) เพื่อให้เราได้เห็นถึงความสำคัญของการเป็นอยู่ของเหล่าสัตว์ทั้งหลาย รวมทั้งถึงเรื่องสิทธิต่างๆ ที่ถูกกำหนดขึ้นมา เพื่อสวัสดิภาพของสัตว์ เป็นการช่วยทำให้สัตว์ประเภทต่างๆ สามารถอาศัยอยู่ได้อย่างปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ และเป็นการคุ้มครองสัตว์ไม่ให้ถูกทำร้าย ไม่ว่าจะในผืนป่า ในสวนสัตว์ ในเมือง หรือกระทั่งในบ้านเรือน
ความสำคัญของ วันสัตว์โลก (World Animal Day) สำหรับ วันสัตว์โลก ถูกกำหนดขึ้นเป็นครั้งแรกโดย Heinrich Zimmermann นักเขียนชาวเยอรมัน และเจ้าของนิตยสารชื่อดัง โดยที่ทั้งสองได้กำหนดวันสัตว์โลกเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1925 ณ สปอร์ตพาเลซ กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี หลังจากนั้น เมื่อเวลาผ่านไป ก็ได้มีการกำหนดวันสัตว์โลกขึ้นมาใหม่อีกครั้ง คือ วันที่ 4 ตุลาคม เพื่อที่จะได้ตรงกับวันเฉลิมฉลองของนักบุญฟรานซิส แห่งอัสซีซี ซึ่งท่านเป็นนักบุญผู้อุปถัมภ์ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมของโลก
จนมาถึงในปี ค.ศ. 1931 สภาคองเกรส แห่งสภาคุ้มครองสัตว์นานาชาติ ในเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ได้ทำการยอมรับข้อเสนอ ที่จะกำหนดให้วันที่ 4 ตุลาคม ของทุกปี เป็นวันสัตว์โลกสากล เพราะประเทศอิตาลี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาและสิทธิของเหล่าสัตว์น้อยใหญ่ทั้งหลาย
รวมถึงยังต้องการที่จะมีส่วนในการดูแลและป้องกันสัตว์ทั้งหลายไม่ให้สูญพันธุ์ไปอีกด้วย นี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นของวันที่ 4 ตุลาคม ที่ถูกกำหนดให้เป็นวันสัตว์โลกตั้งแต่นั้นมาจนถึงในปัจจุบัน
สัตว์ป่าที่อาศัยและหากินอยู่ในป่า
3 ตุลาคม : วันรวมชาติเยอรมัน (German Unity Day) 🇩🇪
https://www.thaipbs.or.th/now/content/1639
หลังจากรัฐบาลคอมมิวนิสต์ของเยอรมนีตะวันออก (German Democratic Republic) เริ่มก่อสร้าง “กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall)” เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2504 เพื่อปิดกั้นเส้นทางอพยพของประชาชนจากเยอรมนีตะวันออกไปสู่เยอมันตะวันตก (Federal Republic of Germany) ซึ่งเป็นดินแดนที่มั่งคั่งกว่า ทำให้ “กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall)” แบ่งเมืองเบอร์ลินออกเป็นเบอร์ลินตะวันออกและตะวันตก กำแพงนี้เป็นเสมือนเป็นสัญลักษณ์ของการแบ่งแยกระหว่างฝ่ายประเทศเสรีและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุคสงครามเย็น (Cold War)
“กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall)” ตั้งอยู่เป็นระยะเวลา 28 ปี จนกระทั่งรัฐบาลเยอรมันตะวันออก (German Democratic Republic) ได้อนุมัติให้เปิดกำแพงเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2532 ชาวเบอร์ลินตะวันตกออกมาต้อนรับชาวเบอร์ลินตะวันออก บรรยากาศในวันนั้นเหมือนงานเฉลิมฉลอง ชาวเยอรมันจึงถือกันว่าวันนี้เป็น “วันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน” ก่อนที่กำแพงเบอร์ลินจะถูกทุบทำลายเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2533
ชาติเยอรมันทั้งสองได้กลับเป็นหนึ่งเดียวกันอีกครั้ง กล่าวคือ เยอรมนีตะวันออก (German Democratic Republic) ได้รวมชาติกับเยอรมนีตะวันตก (Federal Republic of Germany) อย่างเป็นทางการ กลายเป็น “สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany)” เพียงหนึ่งเดียว ในวันที่ 3 ตุลาคม 2533 ภายหลังจึงถือเอาวันที่ 3 ตุลาคม ของทุกปีเป็น “วันรวมชาติเยอรมัน (German Unity Day)”