Custom Search

Dec 27, 2013

ขอใจเธอแลกเบอร์โทร - หญิงลี ศรีจุมพล



Digital Download : *123 7034
iTunes Download : http://goo.gl/0Q16H
เพลง : ขอใจเธอแลกเบอร์โทร (Kho Chai Thoe Laek Boe Tho)
ศิลปิน : หญิงลี ศรีจุมพล (Ying Li Si Chumphon)
คำร้อง/ทำนอง บอย เขมราฐ
เรียบเรียง สวัสดิ์ สารคาม




Dec 25, 2013

Merry Christmas 2013!


ภาพมงคลในวันคริสมาสต์ครับ

ภาพโดย Sarawut Itsaranuwut


 


  Have Yourself A Merry Little Christmas  : Gabriel Bello

Dec 15, 2013

ในหลวง ร.๙ ทรงเสด็จทอดพระเนตรการจัดการฟาร์มโคนม ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๖






พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9 ทรงป้อนนมให้ลูกวัวในโอกาสเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรโครงการชั่งหัวมันวันนี้  
(15 ธ.ค. 56)

(ขอบคุณภาพ : ช่างภาพส่วนพระองค์)

Dec 12, 2013

สักวันต้องได้ดี : เต๋อ เรวัต พุทธินันทน์



http://www.facebook.com/rewat.forever




เพลงประกอบละคร สักวันต้องได้ดี
เพลงนี้ของพี่เต๋อ ร้องไว้เมื่อปี '38 เป็นเพลงท้ายๆ
ก่อนหน้าที่พี่เต๋อจะเสียชีวิตเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2539 
เป็นเพลงที่พี่เต๋อประพันธ์เนื้อร้อง และให้
พี่โอม ชาตรี คงสุวรรณ 
เป็นคนใส่ทำนองและเรียบเรียง 








Obama's Complete Nelson Mandela Memorial Speech






US President Barack Obama had South Africa enthralled during his speech at the memorial held at the FNB Stadium in the late Nelson Mandela's honour. 
Full Script: What Obama Said At Mandela's Memorial
By KAI PFAFFENBACH\Newscom\RTR


US President Barack Obama arrives at the memorial for Nelson Mandela

"To Graça Machel and the Mandela family; to President Zuma and members of the government; to heads of state and government, past and present; distinguished guests - it is a singular honor to be with you today, to celebrate a life unlike any other. To the people of South Africa - people of every race and walk of life - the world thanks you for sharing Nelson Mandela with us. His struggle was your struggle. His triumph was your triumph. Your dignity and hope found expression in his life, and your freedom, your democracy is his cherished legacy.

"It is hard to eulogize any man - to capture in words not just the facts and the dates that make a life, but the essential truth of a person - their private joys and sorrows; the quiet moments and unique qualities that illuminate someone's soul. How much harder to do so for a giant of history, who moved a nation toward justice, and in the process moved billions around the world.

"Born during World War I, far from the corridors of power, a boy raised herding cattle and tutored by elders of his Thembu tribe - Madiba would emerge as the last great liberator of the 20th century. Like Gandhi, he would lead a resistance movement - a movement that at its start held little prospect of success. Like King, he would give potent voice to the claims of the oppressed, and the moral necessity of racial justice. He would endure a brutal imprisonment that began in the time of Kennedy and Khrushchev, and reached the final days of the Cold War. Emerging from prison, without force of arms, he would - like Lincoln - hold his country together when it threatened to break apart. Like America's founding fathers, he would erect a constitutional order to preserve freedom for future generations - a commitment to democracy and rule of law ratified not only by his election, but by his willingness to step down from power.

"Given the sweep of his life, and the adoration that he so rightly earned, it is tempting then to remember Nelson Mandela as an icon, smiling and serene, detached from the tawdry affairs of lesser men. But Madiba himself strongly resisted such a lifeless portrait. Instead, he insisted on sharing with us his doubts and fears; his miscalculations along with his victories. “I'm not a saint,” he said, “unless you think of a saint as a sinner who keeps on trying.”

"It was precisely because he could admit to imperfection - because he could be so full of good humor, even mischief, despite the heavy burdens he carried - that we loved him so. He was not a bust made of marble; he was a man of flesh and blood - a son and husband, a father and a friend. That is why we learned so much from him; that is why we can learn from him still. For nothing he achieved was inevitable. In the arc of his life, we see a man who earned his place in history through struggle and shrewdness; persistence and faith. He tells us what's possible not just in the pages of dusty history books, but in our own lives as well.

"Mandela showed us the power of action; of taking risks on behalf of our ideals. Perhaps Madiba was right that he inherited, “a proud rebelliousness, a stubborn sense of fairness” from his father. Certainly he shared with millions of black and colored South Africans the anger born of, “a thousand slights, a thousand indignities, a thousand unremembered moments…a desire to fight the system that imprisoned my people.”

"But like other early giants of the ANC - the Sisulus and Tambos - Madiba disciplined his anger; and channeled his desire to fight into organization, and platforms, and strategies for action, so men and women could stand-up for their dignity. Moreover, he accepted the consequences of his actions, knowing that standing up to powerful interests and injustice carries a price. “I have fought against white domination and I have fought against black domination,” he said at his 1964 trial. “I've cherished the ideal of a democratic and free society in which all persons live together in harmony and with equal opportunities. It is an ideal which I hope to live for and to achieve. But if needs be, it is an ideal for which I am prepared to die.”

"Mandela taught us the power of action, but also ideas; the importance of reason and arguments; the need to study not only those you agree with, but those who you don't. He understood that ideas cannot be contained by prison walls, or extinguished by a sniper's bullet. He turned his trial into an indictment of apartheid because of his eloquence and passion, but also his training as an advocate. He used decades in prison to sharpen his arguments, but also to spread his thirst for knowledge to others in the movement. And he learned the language and customs of his oppressor so that one day he might better convey to them how their own freedom depended upon his.

"Mandela demonstrated that action and ideas are not enough; no matter how right, they must be chiseled into laws and institutions. He was practical, testing his beliefs against the hard surface of circumstance and history. On core principles he was unyielding, which is why he could rebuff offers of conditional release, reminding the Apartheid regime that, “prisoners cannot enter into contracts.” But as he showed in painstaking negotiations to transfer power and draft new laws, he was not afraid to compromise for the sake of a larger goal. And because he was not only a leader of a movement, but a skillful politician, the Constitution that emerged was worthy of this multiracial democracy; true to his vision of laws that protect minority as well as majority rights, and the precious freedoms of every South African.

"Finally, Mandela understood the ties that bind the human spirit. There is a word in South Africa- Ubuntu - that describes his greatest gift: his recognition that we are all bound together in ways that can be invisible to the eye; that there is a oneness to humanity; that we achieve ourselves by sharing ourselves with others, and caring for those around us. We can never know how much of this was innate in him, or how much of was shaped and burnished in a dark, solitary cell. But we remember the gestures, large and small - introducing his jailors as honored guests at his inauguration; taking the pitch in a Springbok uniform; turning his family's heartbreak into a call to confront HIV/AIDS - that revealed the depth of his empathy and understanding. He not only embodied Ubuntu; he taught millions to find that truth within themselves. It took a man like Madiba to free not just the prisoner, but the jailor as well; to show that you must trust others so that they may trust you; to teach that reconciliation is not a matter of ignoring a cruel past, but a means of confronting it with inclusion, generosity and truth. He changed laws, but also hearts.

"For the people of South Africa, for those he inspired around the globe - Madiba's passing is rightly a time of mourning, and a time to celebrate his heroic life. But I believe it should also prompt in each of us a time for self-reflection. With honesty, regardless of our station or circumstance, we must ask: how well have I applied his lessons in my own life?

"It is a question I ask myself - as a man and as a President. We know that like South Africa, the United States had to overcome centuries of racial subjugation. As was true here, it took the sacrifice of countless people - known and unknown - to see the dawn of a new day. Michelle and I are the beneficiaries of that struggle. But in America and South Africa, and countries around the globe, we cannot allow our progress to cloud the fact that our work is not done. The struggles that follow the victory of formal equality and universal franchise may not be as filled with drama and moral clarity as those that came before, but they are no less important. For around the world today, we still see children suffering from hunger, and disease; run-down schools, and few prospects for the future. Around the world today, men and women are still imprisoned for their political beliefs; and are still persecuted for what they look like, or how they worship, or who they love.

"We, too, must act on behalf of justice. We, too, must act on behalf of peace. There are too many of us who happily embrace Madiba's legacy of racial reconciliation, but passionately resist even modest reforms that would challenge chronic poverty and growing inequality. There are too many leaders who claim solidarity with Madiba's struggle for freedom, but do not tolerate dissent from their own people. And there are too many of us who stand on the sidelines, comfortable in complacency or cynicism when our voices must be heard.

"The questions we face today - how to promote equality and justice; to uphold freedom and human rights; to end conflict and sectarian war - do not have easy answers. But there were no easy answers in front of that child in Qunu. Nelson Mandela reminds us that it always seems impossible until it is done. South Africa shows us that is true. South Africa shows us we can change. We can choose to live in a world defined not by our differences, but by our common hopes. We can choose a world defined not by conflict, but by peace and justice and opportunity.

"We will never see the likes of Nelson Mandela again. But let me say to the young people of Africa, and young people around the world - you can make his life's work your own. Over thirty years ago, while still a student, I learned of Mandela and the struggles in this land. It stirred something in me. It woke me up to my responsibilities - to others, and to myself - and set me on an improbable journey that finds me here today. And while I will always fall short of Madiba's example, he makes me want to be better. He speaks to what is best inside us. 

After this great liberator is laid to rest; when we have returned to our cities and villages, and rejoined our daily routines, let us search then for his strength - for his largeness of spirit - somewhere inside ourselves. And when the night grows dark, when injustice weighs heavy on our hearts, or our best laid plans seem beyond our reach - think of Madiba, and the words that brought him comfort within the four walls of a cell:
"It matters not how strait the gate,
How charged with punishments the scroll,
I am the master of my fate:
I am the captain of my soul.
"What a great soul it was. We will miss him deeply. 
May God bless the memory of Nelson Mandela. 
May God bless the people of South Africa."

http://www.thenigerianvoice.com/nvnews/130984/1/full-script-what-obama-said-at-mandelas-memorial.html




Invictus
Out of the night that covers me,
Black as the Pit from pole to pole,
I thank whatever gods may be
For my unconquerable soul.
In the fell clutch of circumstance
I have not winced nor cried aloud.
Under the bludgeonings of chance
My head is bloody, but unbowed.
Beyond this place of wrath and tears
Looms but the Horror of the shade,
And yet the menace of the years
Finds, and shall find, me unafraid.
It matters not how strait the gate,
How charged with punishments the scroll.
I am the master of my fate:
I am the captain of my soul. 

William Ernest Henley





Dec 9, 2013

วันที่ 9 ธันวาคม เป็น วันต่อต้านคอรัปชั่นสากล

International Anti-Corruption Day 9 December

วันจันทร์ที่ 9 ธันวาคม 2556

ไอ้ชั่ว โกงชาติ กินชาติ โดย อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัตน์ #





"มึงทำอะไรให้แก่ประเทศชาติมึงบ้าง" 


Dec 5, 2013

::: ภาพประวัติศาสตร์ ที่ต้องใช้เวลาสืบค้นถึง ๔๐ ปี :::


::: ภาพประวัติศาสตร์ ที่ต้องใช้เวลาสืบค้นถึง ๔๐ ปี :::

หัวหน้าฝ่ายช่างภาพประจำพระองค์ "นายอาณัติ บุนนาค" ได้บันทึกภาพในวินาทีสำคัญที่กลายเป็นภาพประวัติศาสตร์ภาพหนึ่ง และเรื่องราวความเป็นมาของภาพต้องใช้เวลาสืบค้นนานถึง ๔๐ ปี

"ที่จังหวัดนครพนม บ่ายวันที่ ๑๓ พ.ย.๒๔๙๘ หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ ไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศล ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหารเสร็จสิ้นในช่วงเช้าแล้ว ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ โดยรถยนต์พระที่นั่งกลับไปประทับ ณ จวน
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม ราษฎรที่รู้ข่าวต่างพากันอุ้มลูกจูงหลานหอบกับมารับเสด็จที่ริมถนนอย่างเนืองแน่น

ดังเช่น ครอบครัวจันทนิตย์ ที่ลูกชายช่วยกันนำแม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ วัย ๑๐๒ ปี ไปรอรับเสด็จห่างจากบ้านประมาณ ๗๐๐ เมตร โดยได้จัดหาดอกบัวสายสีชมพูให้แม่เฒ่าจำนวน ๓ ดอก และพาออกไปรอที่แถวหน้า เพื่อให้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทมากที่สด เปลวแดดร้อนตั้งแต่เช้าจนสาย เที่ยงจนบ่าย แสงแดดเผาเอาจนดอกบัวภายในมือเหี่ยวโรย แต่หัวใจรักภักดีของหญิงชรายังคงเบิกบาน

เมื่อเสด็จฯ มาถึงบริเวณสามแยกชยางกูร – เรณูนคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หยุดรถพระที่นั่ง เสด็จฯ ลงไปเยี่ยมราษฎรที่มาเฝ้ารับเสด็จ

เมื่อเสด็จฯ มาถึงตรงหน้า แม่เฒ่าตุ้มได้ยกดอกบัวสายที่โรยราสามดอกนั้นขึ้นจรดเหนือศีรษะแสดงความจงรักภักดีอย่างสุดซึ้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงโน้มพระองค์อย่างต่ำที่สุด จนพระพักตร์เกือบชิดศีรษะแม่เฒ่า ทรงแย้มพระสรวลและยื่นพระหัตถ์แตะมืออันกร้านคล้ำของหญิงชราชาวอีสานอย่างอ่อนโยน เป็นภาพที่ไม่จำเป็นต้องมีคำบรรยาย ไม่มีใครทราบว่าได้รับสั่งกับแม่เฒ่าอย่างไร แต่แน่นอนว่าแม่เฒ่าจะไม่มีวันลืม

เช่นเดียวกับในหลวงที่ไม่ทรงลืมพสกนิกรชาวไทย หลังจากเสด็จฯ กลับกรุงเทพฯ แล้วทางสำนักพระราชวังได้จัดส่งภาพรับเสด็จของแม่เฒ่าตุ้ม พร้อมกับพระบรมรูปหล่อด้วยปูนปลาสเตอร์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาพระราชทานผ่านทางอำเภอพระธาตุพนม ให้กับแม่เฒ่าตุ้มไว้เป็นที่ระลึก

พระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้นี้ นำความปลื้มปิติยินดี ซึ่งอาจมีส่วนชุบชีวิตให้แม่เฒ่ายืนยาวด้วยความสุขต่อมาอีกถึง ๓ ปี จึงถึงแก่กรรมอย่างสงบด้วยโรคชรา เมื่ออายุได้ ๑๐๕ ปี"


Cr. http://www.gotoknow.org/posts/349681

๕ ธันวาคม ๒๕๕๖









พระราชดำรัส พระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบรอบ 86 พรรษา 
ในวันที่ 5 ธันวาคม 2556 
"ขอขอบพระทัย และขอบใจท่านทั้งหลายเป็นอย่างยิ่ง 
ที่มีไมตรีจิตพรั่งพร้อมกันมาให้พร 
รวมทั้งให้คำมั่นสัญญาด้วยประการต่างๆ 
ข้าพเจ้าขอแสดงสนองพรและไมตรีจิตทั้งนั้นด้วยใจจริงเช่นกัน
 บ้านเมืองของเราเป็นสุขสืบมาช้านาน 
เพราะเรามีความเป็นปึกแผนในชาติ 
และต่างบำเพ็ญกิจตามหน้าที่ให้สอดคล้องเกื้อกูลกัน 
เพื่อประโยชน์ของชาติ คนไทยทุกคนจึงควรตระหนักในข้อนี้ให้มาก
 และตั้งใจประพฤติตัวปฎิบัติงานให้สมฐานะและหน้าที่
 เพื่อให้สำเร็จประโยชน์ส่วนรวมคือ
ความมั่นคงปลอดภัยของชาติบ้านเมืองไทย 
ขออำนาจแห่งคุณพระรัตนตรัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ 
จงคุ้มครองรักษาท่านทุกคนให้มีแต่ความสุขความเจริญตลอดไป"

Nov 12, 2013

ตอบโจทย์ชีวิต

From T2

โลกมีไว้ให้เหยียบ ไม่ใช่มีไว้แบก เมื่อเข้าใจโลกและชีวิตมากขึ้น คุณจะเหยียบโลกได้อย่างมั่นใจและสบายขึ้น
http://teetwo.blogspot.com/2012/05/blog-post_8302.html

รู้จักความรัก
Hug Magazine ปีที่ 5 ฉบับที่ 7
ศ.ดร.นพ.วิทยา นาควัชระ(จิตแพทย์)



เมื่อถูกแฟนทิ้ง จะยิงใครดี?
         วันนี้ผมตั้งหัวข้อชื่อเรื่องแลดูโหดไปหน่อย
          แต่เป็นเรื่องจริงที่เวลาใครถูกคนรักทิ้งมักจะเสียอีโก้ รู้สึกตัวเองไม่มีค่า โกรธ หรือแค้นตัวเองหรือคนรัก
          หลายคนนึกอยากยิงหรือฆ่าใครสักคนด้วยความเจ็บใจ แค้น หรือน้อยใจ อาย
          ยิงใครดีเล่า ?
          ไล่ไปเลยตั้งแต่ยิงตัวเอง ยิงคนรัก ยิงกิ๊กคนใหม่ของคนรัก ยิงลูก (ที่เกิดมาตอนยังรักกับแฟน) หรือยิงหมดทุกคน?
          คงมีบางคนอาจตะโกน ว่า “จะยิงทำไมให้โง่เหรอ ไม่ยิงหรอก!“ ก็ได้
          ลองดูเฉลยตอนท้ายซิว่าจะเหมือนที่คุณคิดเอาไว้ไหม?
           ผมขอเล่าเรื่องจริง (ที่ไม่บอกชื่อจริงเด็ดขาด) ให้ฟังดีกว่า...
           เมื่อเร็วๆ นี้ มีผู้ทุกข์คนหนึ่งมาหา เป็นผู้หญิงอายุ 50 กว่า เธอบอกว่าเคยมาหาผมเมื่อ 20 ปีที่แล้วด้วยความทุกข์ใจมาก
           เพราะจู่ๆ สามีที่เคยรักกันมาได้ทิ้งเธอไป เธอมีหนี้ตอนนั้น 30 ล้านบาท มีลูกที่ต้องเลี้ยงดูและกำลังมีปัญหา ไม่รู้จะแก้ไขปัญหาอย่างไร กลุ้มใจ ทุกข์ใจมาก
           เธอมาหาผมพร้อมกับบอกว่า กำลังคิดจะยิงตัวตายเพราะสามีทิ้งไป พร้อมกับทิ้งความทุกข์และภาระก้อนใหญ่ไว้ให้เธอ
           เธอย้อนความหลังและเตือนความทรงจำให้ผมฟัง ผมรับฟังเธอด้วยความเห็นใจ เข้าใจ
           และผมได้เล่าเรื่องของผู้ทุกข์อีกคนหนึ่งที่ถูกคนรักทิ้งไปในเวลาใกล้เคียงกันให้เธอฟังว่า...
           มีฝรั่งผู้ชายคนหนึ่งหลงรักลูกศิษย์สาวในมหาวิทยาลัย ทั้งคู่รักกันดี ฝ่ายหญิงอยากไปศึกษาต่อต่างประเทศ ฝรั่งคนนั้นช่วยส่งเสียและส่งเสริมให้ได้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาที่สูงขึ้นในต่างประเทศ
           หญิงสาวคนนี้ไปพบรักใหม่กับฝรั่งคนใหม่และแต่งงานกัน ทิ้งให้คนรักเก่าเศร้าเสียใจด้วยความรักหลุดลอยเพราะถูกแฟนทิ้ง ฝรั่งคนนี้ตัดสินใจจะยิงตัวตาย
          เพื่อนสนิทแนะนำให้เขามาหาผม เมื่อเขาเล่าเรื่องให้ฟังจนจบด้วยสีหน้าเศร้าหมอง ผมบอกเขาว่า
          คุณจะยิงตัวตายไปทำไม ทำไมไม่มีชีวิตอยู่ต่อไปและทำชีวิตให้ดียิ่งขึ้น เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น จนสุดท้ายคนที่ทิ้งเราไปจะต้องเสียใจที่ทิ้งคนดีๆ อย่างคุณไปจนอยากยิงตัวตาย จะดีกว่าไหม คุณจะไปยอมตาย เสียชีวิตเพื่อคนที่เขาไม่รักคุณแล้วทำไม ไม่คุ้มกันเลย
          ฝรั่งคนนั้นได้สติ เกิดปัญญา และไม่อยากตาย กลับไปทำงานต่อและมาพบบ้างบางครั้ง ชีวิตก็ดีขึ้น
          ผู้ทุกข์ที่เป็นผู้หญิงคนนี้เล่าว่า เมื่อเธอฟังเรื่องของฝรั่งจบ เธอก็เกิดสติและปัญญาเช่นกัน เธอคิดว่า...
          ฉันจะตายไปทำไม ฉันจะต้องอยู่และทำชีวิตตัวเองให้ดีขึ้น มีค่ามากขึ้น จนสุดท้ายคนที่ทิ้งเธอไปจะต้องเสียใจที่ทิ้งคนดีๆ ไปจนอยากฆ่าตัวตายอย่างที่ผมพูด...ก็ได้
          เธอจำได้ว่าผมเคยบอกเธอว่า
          Nobody Love You For You 
          และ Nobody Love You Like You
         ไม่มีใครรักคุณเพื่อตัวคุณหรอก 
          และไม่มีใครรักคุณเหมือนตัวคุณด้วย
          จงจำไว้...จงรักตัวเองให้เป็น ทำตัวเองให้ดีขึ้น มีค่ามากขึ้น แล้วจะมีคนมารักคุณ อยากอยู่กับคุณมากขึ้น
          ถ้าคุณทำตัวไม่มีค่า ไม่มีความหมาย ใครจะมารักคุณให้เป็นภาระกับเขา เพราะทุกคนก็ต่างหาคนรักที่มีค่า มีความหมายสำหรับตัวเขาทั้งนั้น เพราะเขารักคุณเพื่อตัวเขา...ทั้งนั้น (แม้แต่ตัวคุณก็เช่นเดียวกัน) ไม่มีใครรักคุณเพื่อตัวคุณหรอก! 
          เธอเลยเลิกคิดฆ่าตัวตายและพยายามหาเงินมาชดใช้หนี้เก่าโดยขายสมบัติทุกอย่าง เหลือเงินอยู่บ้างก็เอามาลงทุน ขณะนี้เธอมีฐานะสบายมากอยู่ในขั้นร่ำรวย ทำงานช่วยเหลือสังคม มีลูกที่โชคดีมีการศึกษาและการงานดี
          เธอมาหาผมเพื่อเล่าเรื่องนี้ให้ฟังและอนุญาตว่า ถ้าผมจะเขียนถึงก็ดี จะได้เตือนใจคนที่อยากฆ่าตัวตายเพราะถูกคนรักทิ้ง
           ในยามที่คุณถูกคนรักทิ้งไป คุณจะเสียอีโก้ เสียความภูมิใจตัวเอง เสียหน้า หมดหวัง หดหู่ใจจนอยากตาย อยากยิงหรือฆ่าตัวเองรวมทั้งคนที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นี้ ทั้งตัวเอง - คนรัก – แฟนใหม่ของคนรัก - หรือลูก
           แต่เมื่อเกิดสติ - ปัญญาแล้วก็ไม่อยากยิงใครหรอก แต่จะอยากทำตัวให้มีค่าขึ้นมาใหม่
          ผมอยากบอกว่าคุณต้องยิงอะไรบางอย่างในตัวคุณให้ตายไปให้ได้...เมื่อถูกแฟนทิ้ง
          สิ่งนั้นคือ ‘ความโง่’ หรือ ‘ไอ้โง่’ ในตัวคุณไงเล่า
          ยิงไอ้โง่หรือ ‘อวิชชา – ความไม่รู้’ ในตัวคุณให้ลดลงหรือตายไป โดยใช้สติและปัญญาเป็นอุปกรณ์การยิง ความโง่...อวิชชาทำให้คุณหลงผิดคิดว่าทุกอย่างต้องเหมือนเดิม อยากครอบครองคนรัก ห้ามเปลี่ยนแปลง แต่มันเป็นไปไม่ได้หรอก เพราะความจริงก็คือทุกอย่างไม่  แน่นอนและครอบครองไม่ได้ทั้งนั้น ทุกอย่างเป็นอนิจจังและอนัตตา
          อย่าไปยิงมนุษย์คนใดคนหนึ่งเลย จะก่อเวรกรรมต่อเนื่องไปอีก และคุณก็ไม่ควรตายเพื่อคนที่เขาไม่รักคุณด้วย
          ครั้นบอกว่าจะยิงใครให้โง่ทำไมก็ไม่ถูกอีก คุณต้องฉลาดที่จะยิงอะไรบางอย่างในตัวคุณเองดังอธิบายแล้ว
          ตกลงเมื่อแฟนทิ้ง จะยิงใครดี?
          ถ้าตอบก็คือยิง ‘ความโง่’ หรือ ‘ไอ้โง่’ ในตัวคุณให้ตายไปโดยใช้สติและปัญญาไงเล่า
          แล้วคุณจะเป็นคนใหม่ที่มีค่ามากขึ้น มีสติและปัญญามากขึ้น ยอมรับความจริงคืออนิจจัง อนัตตา และทำตัวให้มีค่ามากขึ้นจนคนที่จากไปรู้สึกเสียดายจนอยากฆ่าตัวตายก็ได้...ดีไหม?

Oct 29, 2013

A49@30


อ.นิธิ สถาปิตานนท์ ศิลปินแห่งชาติ
วาดโดย อ. ดินหิน รักพงษ์อโศก




จะดีไหมถ้า.....
แนวความคิดกึ่งความฝัน ของ บริษัทสถาปนิก 49 จำกัด 
ที่มีต่อกรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย ในปี ค.ศ.2049
เราตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบ เพื่อให้กรุงเทพฯ เติบโดตไปได้อย่างสวยงามและยั่งยืน 
ทั้งนี้เราไม่ได้คิดถึงปัจจัยทางด้าน เศรษฐกิจ การเมือง ฯลฯ
เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่ากรุงเทพมหานครในภา­ยภาคหน้า
จะเป็นเมืองที่ผู้คนอยู่แล้วมีควา­มสุขที่สุดในโลกครับ

Info Graphic ชุดนี้เป็นส่วนหนึ่งของ Exhibition
ครบรอบ 30 ปี 49Group จัดแสดงวันที่ 16-20 ตุลาคม 2556
ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิร์ล ชั้น 1 EDEN ZONE

Graphic by Think Panther

Oct 26, 2013

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก


ฟังเสียงพระธรรมเทศนา และอ่านธรรมนิพนธ์
ได้ที่ www.sangharaja.org






คำถวายสักการะอย่างเป็นทางการ 
"ขอถวายอภิสัมมานสักการะ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 
ด้วยเศียรเกล้า"

ภาพถ่ายโดย T2 ถวายเป็นเครื่องสักการะแด่พระองค์ท่าน




Oct 5, 2013

เซลล์กระจกเงา (Mirror Neuron) : ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ



ถ้าเราเข้าใจเรื่อง "สื่อ" มีผลต่อจิตใจคน สื่อที่ลงแต่เรื่องร้ายๆมากกว่าเรื่องดีๆ ก็จะเป็นแบบในคลิปนี้ - - เซลล์กระจกเงา (Mirror Neuron) จดจำทั้งเรื่องดีและร้าย ทั้งที่อยากจำและไม่อยากจำ -- เรื่องร้ายๆ ฝังๆๆๆๆ ในจิตใจผู้คน -- ใครทำงานด้านสื่อ ถ้ามีเมตตาธรรม จะไม่ปล่อย โฆษณา หนัง เพลง ฯลฯ ที่ทำร้ายใจผู้คนอีกเลย - - ได้โปรดเมตตา สงสารผู้ชม ผู้ฟัง และ สังคมมากขึ้นนะ 
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ



Sep 29, 2013

พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน


ประวัติ
พลเอก สนธิ เป็นบุตรของ พันเอกสนั่น
(เดิมนามสกุลอหะหมัดจุฬา)[1]
และนางมณี บุญยรัตกลิน
เติบโตในครอบครัวมุสลิม
ที่นับถือนิกายชีอะห์ ในจังหวัดปทุมธานี
(บิดานับถือนิกายชีอะห์)
แต่ตัวท่านนับถือศาสนาอิสลาม นิกายซุนนีย์
(มารดานับถือนิกายซุนนีย์) [2] 
ต้นตระกูล เฉกอะหมัด หรือ
เจ้าพระยาบวรราชนายก ขุนนางเชื้อสายเปอร์เซีย
ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งจุฬาราชมนตรี และ
สมุหนายกในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ลูกหลานบางส่วนของเฉก อาหมัด เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ
เช่น ตระกูลบุนนาค ตระกูลจุฬารัตน์
โดยนามสกุล บุญยรัตกลิน (อ่านว่า บุน-ยะ-รัด-กะ-ลิน)
จริงๆแล้วคือ บุณยรัตกลิน แต่พิมพ์ผิดเป็น "ญ" นั้น
เป็นนามสกุลพระราชทานจากรัชกาลที่ 6 
มีที่มาจากการที่หนึ่งในสาแหรกฝั่งย่าเป็นทหารเรือ
สังกัดพรรคกลิน คือหลวงพินิจกลไก(บุญรอด) [3] 
มีชื่อทางมุสลิมว่า อับดุลเลาะห์ อหะหมัดจุฬา

การศึกษา
พลเอกสนธิศึกษาในระดับประถมและมัธยมที่
โรงเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ
และศึกษาต่อโรงเรียนเตรียมทหาร
(รุ่นที่ 6) และศึกษาต่อ
โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
เหล่าทหารราบ (รุ่นที่ 17) 
และ ได้ศึกษาในระดับอุดมศึกษา
สำหรับปริญญาโท
สาขาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (การทหาร)
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
สถาบันวิชาการทหารบกชั้นสูง
และวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (รุ่นที่ 42) 

นอกจากนี้ได้มีหลักสูตรพิเศษอื่น ได้แก่
หลักสูตรส่งทางอากาศและหลักสูตรจู่โจม
โรงเรียนศูนย์การทหารราบ
หลักสูตรชั้นนายร้อยทหารราบ หลักสูตรสงครามทุ่นระเบิด
โรงเรียนศูนย์การทหารช่าง
หลักสูตรผู้บังคับหมวดช่างโยธาและกระสุน
โรงเรียนศูนย์การทหารราบ
หลักสูตรภาษาอังกฤษ โรงเรียนยุทธศึกษาทหารบก
หลักสูตรลาดตระเวนระยะไกล โรงเรียนศูนย์การทหารราบ
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
หลักสูตรหลักประจำ ชุดที่ 57 

การรับราชการ
ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบ
ศูนย์การทหารราบ
ผู้บังคับหมวดปืนเล็ก กองร้อยอาวุธเบา กองพันทหารราบที่ 2 
กองพลอาสาสมัครเสือดำ
รองผู้บังคับกองร้อยลาดตระเวนระยะไกลที่ 9 กาญจนบุรี
นายทหารคนสนิทแม่ทัพภาคที่ 4
(พล.ท.ปิ่น ธรรมศรี ในขณะนั้น)
ผู้บังคับกองพันรบพิเศษที่ 2 กรมรบพิเศษที่ 1 
รองผู้บังคับการกรมรบพิเศษที่ 1 
ผู้บังคับการกรมรบพิเศษที่ 1 รองผู้บัญชาการกองพลรบพิเศษที่ 1 
ผู้บัญชาการกองพลรบพิเศษที่ 1 รองผู้บัญชาการ
หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ
ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษได้รับโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งเป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก
และผู้บัญชาการทหารบก
พล.อ.สนธิ เป็นนายทหารของหน่วยรบพิเศษ
ที่ผ่านการรบด้านการปราบปราม ผกค. ด้าน อ.กุยบุรี
และ จ.ปราจีนบุรี รวมถึงการออกไปรบที่ประเทศเวียดนาม
และกัมพูชา 

อ้างอิง
ชีวประวัติพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน
มติชนสุดสัปดาห์ 11-17 พ.ค. 2550 หน้า 29-30
เนชั่น สุดสัปดาห์, ฅ.คนหลังข่าว : พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ในมุมสบายๆ สไตล์ 'บิ๊กบัง' ในรายการ 'มหานคร'
↑ The Nation, Anti-coup group calls for Sonthis' sacking for allegedly registering two marriages, 31 December 2006