Custom Search

Apr 27, 2010

ชิงแชมป์เจ้าภาพ World Expo 2020 ”ก้าวที่กล้า” อีกขั้นของคนไทย


ปัจจุบันขีดความสามารถ
การแข่งขันของประเทศไทยอยู่ในอันดับ ที่ 26 ของโลก
ซึ่งเป็นรองจากประเทศอื่น ๆ ในเอเชียอย่างประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์
ดังนั้น ประเทศไทยจึงจำเป็นต้องเสริมขีดความสามารถ
ในการแข่งขันให้กับทุกภาคส่วนด้วย
การเสริมสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ลงทุน
ในด้านการพัฒนาทักษะแรงงาน
และอุปสรรค กฎหมาย ระเบียบจากภาครัฐ
รวมถึงการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องความท้าทาย
ด้านการพัฒนาเศ
รษฐกิจและประชากรไปสู่การเป็น
Creative Knowledge Economy เสริมสร้าง
ความมั่นใจให้แก่ผู้ลงทุนให้แก่ผู้ลงทุน
ในด้านการพัฒนาทักษะแรงงาน และอุปสรรค
กฎหมาย ระเบียบจากภาครัฐ

นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากอันดับของไทยเปรียบเทียบ
กับประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ ฮ่องกง
และโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศคู่แข่งของไทย เช่น
มาเลเซีย ดีกว่าไทยในทุก ๆ ด้าน
ถึงแม้มาเลเซียจะมีอันดับดีกว่าไทยในทุกด้าน
แต่ก็ยังอยู่ในระดับที่ไม่ห่างกันมากนัก
โดยเฉพาะด้าน Government Efficiency และ
Economic Performance
ดังนั้น การให้ความสำคัญกับเกณฑ์ชี้วัดในกลุ่มทั้งสองให้มาก
น่าจะทำให้ความสามารถในการแข่งขันของไทย
ขยับเข้าใกล้มาเลเซียได้ในเวลาอันใกล้


จากรายงาน การศึกษ
า World Expo
จากข้อมูลทุติยภูมิ ของบริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด
พบว่า การจัดงาน World Expo ก่อให้เกิดประโยชน์
ในเชิงเศรษฐกิจหลายประการ ที่เห็นได้โดยตรงก็คือ
การเพิ่มขึ้นด้านรายได้ของประเทศเจ้าภาพ
แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของตัวเลขจำนวนนักท่องเที่ยว
และจากประเทศที่เข้าร่วมงาน World Expo
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513-2553 พบว่า
จำนวนผู้เข้าชมงาน World Expo
มากกว่า 10 ล้านคนมีปริมาณมากกว่างาน World Event อื่น
เช่น โอลิมปิก (น้อยกว่า 10 ล้านคน)
ส่งผลให้เกิดการกระ
ตุ้นการใช้จ่ายและช่วยเพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยว
การจัดงาน World Expo ส่วนใหญ่ในช่วงหลัง
จะมีผลการดำเนินงานเป็นบวก
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
ของเมืองที่เป็นเจ้าภาพส่วนใหญ่
มีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้นในช่วงปีก่อนการ
จัดงาน World Expo จะมีส่วนเอื้อต่อ
การเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองที่
จัดงาน มีแนวโน้มการเติบโตขึ้นของ
Inward FDI ในประเทศที่จัดงาน World Expo
มีรายได้จากการลงทุนจากประเทศต่าง ๆ
ในการปลูกสร้าง Pavillion
ในงานโดยกระจายไปยังอุตสาหกรรมการก่อสร้าง
การบริการ การคมนาคม ภาครัฐและการสื่อสาร
เป็นหลักและทำให้เกิดรายได้หมุนเวียนในประเทศ
ที่สำคัญยังช่วยลดอัตราก
ารว่างงาน
การว่างงานในเมืองที่จัด World Expo
ส่วนมากมีอัตราลดลงในช่วงก่อนปีที่จัดงาน
โดยในส่วนของเมือง ปักกิ่ง/เซี่ยงไฮ้ พบว่า
การจัดงาน World Expo
ช่วยให้เกิดการสร้างงานจำนวน 600,000 อัตราเลยทีเดียว


นอกจากนี้ การจัดงาน World Expo
ยังเสริมสร้างการเรียนรู้ของประชากร
โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เรียนรู้และมีประสบการณ์ต่าง ๆ
เช่น ศิลปวัฒนธรรม เทคโนโลยีจากประเทศอื่น ๆ
รวมทั้งช่วยกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์
อีกทั้งยังเป็นช่องทางการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ประเทศเจ้าภาพด้วย 73% ของประเทศ
ที่เข้าร่วม มีจุดประสงค์เพื่อทำ Nation branding ประเทศ
รวมทั้งประเทศผู้จัด ซึ่งเปิดโอกาสให้ประเทศเจ้าภาพ
ได้ประชาสัมพันธ์ประเทศในเชิงการท่องเที่ยว
ศักยภาพในทางการค้า ก
ารลงทุนและอื่นๆที่สำคัญ
World Expo ยังเป็นเครื่องมือ
ในการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ
เนื่องจากมีประเทศเข้าร่วมมากกว่า 100 ประเทศในรอบ 20 ปี
และดึงดูดผู้เข้าร่วมงานจำนวนมากและช่วยส่งเสริมการเรียนรู้
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างประเทศ
และผลพลอยได้จากการใช้ประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างหลังงาน คือ
โครงสร้างการคมนาคม หอประชุม
เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ประเทศเจ้าภาพ
ในการเป็น MICE Destination


อ่านราย ละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นิตยสาร Logistics Time ฉบับที่ 68 เดือนมีนาคม 2553

สสปน.ตีปี๊บลุ้นเวิลด์ เอ็กซ์โป 2020






อรรคพล สรสุชาติ

ภาพ/เรื่อง: ไทยรัฐ

ชี้ความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและเอกชนต่อการเสนอตัว
เป็นเจ้าภาพเวิลด์เอ็กซ์โป 2020 ในครั้งนี้
ถือเป็นนิมิตหมายที่ดีของประเทศไทย...


นาย อรรคพล สรสุชาติ
ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริม
การจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน.
เปิดเผยถึงการจัดงานสัมมนา "โอเพ่นเดย์"
ภายใต้แนวคิด Thailand for World Expo 2020
เมื่อวันที่ 22 ก.พ.ที่ผ่านมาว่า ได้รับการตอบรับอย่างมาก
โดยมีผู้แทนองค์กรภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมกว่า 400 คน
ที่ต่างให้ความสำคัญในการร่วมแสดงความคิดเห็น
และพร้อมศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
ในแต่ละภาคส่วนบนพื้นฐานควา เป็นไปได้
และสอดคล้องกับแผนแม่บทในการพัฒนาประเทศ
ซึ่งผลศึกษาที่ได้นั้น ประเทศไทยมีศักยภาพสูงและมีความพร้อมเต็มกำลัง
แต่รัฐบาลต้องให้การสนับสนุนเต็มที่

การสัมมนาในครั้งนี้ทั้งภาค รัฐและเอกชน
ได้รับทราบข้อมูลที่ประเทศไทย
จะได้รับจากการเป็นเจ้าภาพงาน "เวิลด์ เอ็กซ์โป 2020"
ทั้งข้อมูลจากผลการศึกษาการจัดงานในอดีต
รวมถึงการเก็บข้อมูลจากการจัดงานเวิลด์เอ็กซ์โปที่เซี่ยงไฮ้
สาธารณรัฐประชาชนจีนและเมืองไอจิ ประเทศญี่ปุ่น
ในช่วงที่ ผ่านมา ซึ่งข้อมูลเบื้องต้นที่ได้
ระบุชัดเจนว่าตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี)
ของประเทศที่ได้เป็นเจ้าภาพส่วนใหญ่ จะ มีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้น
ทั้งในช่วงก่อนการจัดงาน รวมทั้งจะมีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
การจ้างงาน และการกระจายรายได้

นายอนุศักดิ์ อินทรภูวิศักดิ์ ประธานบอร์ด สสปน. กล่าวว่า
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
ต่อการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพเวิลด์เอ็กซ์โป 2020 ในครั้งนี้
ถือเป็นนิมิตหมายที่ดีของประเทศไทย
แม้ในกรณีเลวร้ายสุดที่แม้ไทยจะไม่ได้รับคัดเลือก
แต่ก็จะทำให้ชื่อเสียงของประเทศไทยได้รับการกล่าวขาน
ถึงในฐานะประเทศที่มีความพร้อม
ในการเสนอตัวเข้าเป็นเจ้าภาพจัดงานดังกล่าว.
ไปยังอุตสาหกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
ตลอดช่วงกว่า 6 เดือนของการจัดงาน